Tag

พืช

เลือกตามประเภทเนื้อหา
ปัจจุบันผลผลิตทางการเกษตรประสบปัญหาสารเคมีมีตกค้างจากการใช้สารเคมีในกำจัดวัชพืช ก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพต่อผู้ปลูกรวมถึงผู้บริโภค แต่เกษตรกรหัวก้าวหน้าท่านนี้มีนามว่า นายเสน่ห์ พันธ์ภูมิ อายุ 56 ปี บ้านเลขที่ 146 ม.1 ต.ศรีวิลัย อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ได้รับเลือกให้เป็นปราชญ์พร
ปัจจุบันผลผลิตทางการเกษตรประสบปัญหาสารเคมีมีตกค้างจากการใช้สารเคมีในกำจัดวัชพืช ก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพต่อผู้ปลูกรวมถึงผู้บริโภค แต่เกษตรกรหัวก้าวหน้าท่านนี้มีนามว่า นายเสน่ห์ พันธ์ภูมิ อายุ 56 ปี บ้านเลขที่ 146 ม.1 ต.ศรีวิลัย อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ได้รับเลือกให้เป็นปราชญ์พร
ในการทำนาข้าวแบบดั้งเดิมนั้นหนึ่งฤดูการเพาะปลูกจะใช้น้ำประมาณ 700 -1,500 มิลลิเมตร ดังนั้นเทคนิคการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้ง(แกล้งข้าว)สามารถประหยัดน้ำได้ประมาณ 30% -50% ลดปัญหานาหล่ม ป้องกันเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลเนื่องจากความชื้นที่โคนกอข้าวต่ำ และกระตุ้นการออกรากของข้าว ซึ่งวิธีการนี้เหมาะสำหรับ
ในการทำนาข้าวแบบดั้งเดิมนั้นหนึ่งฤดูการเพาะปลูกจะใช้น้ำประมาณ 700 -1,500 มิลลิเมตร ดังนั้นเทคนิคการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้ง(แกล้งข้าว)สามารถประหยัดน้ำได้ประมาณ 30% -50% ลดปัญหานาหล่ม ป้องกันเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลเนื่องจากความชื้นที่โคนกอข้าวต่ำ และกระตุ้นการออกรากของข้าว ซึ่งวิธีการนี้เหมาะสำหรับ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ คือการดำรงไว้ซึ่งความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์ (seed) ให้ยาวนานออกไป ฉะนั้นในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์จึงมีปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องหลายประการ แต่โดยทั่วไปอาจสรุปได้ 2 ประการ คือ 1.ปัจจัยภายใน 1.1 ชนิดของเมล็ดพันธุ์(species)
ปัจจัยที่มีผลต่อการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ คือการดำรงไว้ซึ่งความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์ (seed) ให้ยาวนานออกไป ฉะนั้นในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์จึงมีปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องหลายประการ แต่โดยทั่วไปอาจสรุปได้ 2 ประการ คือ 1.ปัจจัยภายใน 1.1 ชนิดของเมล็ดพันธุ์(species)
ปัจจุบันการค้าข้าวอินทรีย์ยังมีปริมาณน้อยแต่แนวโน้มการบริโภคข้าวอินทรีย์มีมากขึ้น เนื่องจากผู้บริโภคตระหนักถึงความปลอดภัยด้านอาหารและสิ่งแวดล้อม การผลิตข้าวเพื่อการค้าโดยทั่วไปจะไม่มีการรับผิดชอบร่วมกัน ดังภาพที่ 1 ส่วนการผลิตข้าวอินทรีย์ เกษตรกรควรรวมตัวกันเพื่อวางระบบการผลิตและการตลาด ซึ่งจะส่งผล
ปัจจุบันการค้าข้าวอินทรีย์ยังมีปริมาณน้อยแต่แนวโน้มการบริโภคข้าวอินทรีย์มีมากขึ้น เนื่องจากผู้บริโภคตระหนักถึงความปลอดภัยด้านอาหารและสิ่งแวดล้อม การผลิตข้าวเพื่อการค้าโดยทั่วไปจะไม่มีการรับผิดชอบร่วมกัน ดังภาพที่ 1 ส่วนการผลิตข้าวอินทรีย์ เกษตรกรควรรวมตัวกันเพื่อวางระบบการผลิตและการตลาด ซึ่งจะส่งผล
การทำนาดำเป็นวิธีการทำนาที่มีการนำเมล็ดข้าวไปเพาะในแปลงที่เตรียมไว้ (แปลงกล้า) ให้งอกเป็นต้นกล้า แล้วถอนต้นกล้าไปปักดำในกระทงนาที่เตรียมไว้ และมีการดูแลรักษาจนให้ผลผลิต การทำนาดำนิยมในพื้นที่ที่มีแรงงานเพียงพอ การเตรียมดินสำหรับการทำนาดำ ต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อม เช่น น้ำ ภูมิอากาศ ลักษณะพื้นที่
การทำนาดำเป็นวิธีการทำนาที่มีการนำเมล็ดข้าวไปเพาะในแปลงที่เตรียมไว้ (แปลงกล้า) ให้งอกเป็นต้นกล้า แล้วถอนต้นกล้าไปปักดำในกระทงนาที่เตรียมไว้ และมีการดูแลรักษาจนให้ผลผลิต การทำนาดำนิยมในพื้นที่ที่มีแรงงานเพียงพอ การเตรียมดินสำหรับการทำนาดำ ต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อม เช่น น้ำ ภูมิอากาศ ลักษณะพื้นที่
ชุดดินในที่ลุ่มที่สำคัญ ในภาคเหนือ 1. ชุดดินหางดง (Hang Dongseries : Hd) กลุ่มชุดดินที่ 5 การกำเนิด : เกิดจากตะกอนน้ำพาบริเวณที่ราบตะกอนน้ำพาหรือตะพักลำน้ำ สภาพพื้นที่ : ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 % การระบายน้ำ : เลว การซึมผ่านได้ของน้ำ : ช้า การไหลบ่าของน้ำบนผิวดิน : ช้า
ชุดดินในที่ลุ่มที่สำคัญ ในภาคเหนือ 1. ชุดดินหางดง (Hang Dongseries : Hd) กลุ่มชุดดินที่ 5 การกำเนิด : เกิดจากตะกอนน้ำพาบริเวณที่ราบตะกอนน้ำพาหรือตะพักลำน้ำ สภาพพื้นที่ : ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 % การระบายน้ำ : เลว การซึมผ่านได้ของน้ำ : ช้า การไหลบ่าของน้ำบนผิวดิน : ช้า
ชุดดินในที่ลุ่มที่สำคัญ ในภาคกลาง 2. ชุดดินนครปฐม (Nakhon Pathom series : Np) กลุ่มชุดดินที่ 7 การกำเนิด : เกิดจากตะกอนน้ำพามาทับถมอยู่บนที่ราบตะกอนน้ำพาหรือตะพักลำน้ำ สภาพพื้นที่ : ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 % การระบายน้ำ : ค่อนข้างเลว การซึมผ่านได้ของน้ำ : ช้า การไหลบ่าของน้ำ
ชุดดินในที่ลุ่มที่สำคัญ ในภาคกลาง 2. ชุดดินนครปฐม (Nakhon Pathom series : Np) กลุ่มชุดดินที่ 7 การกำเนิด : เกิดจากตะกอนน้ำพามาทับถมอยู่บนที่ราบตะกอนน้ำพาหรือตะพักลำน้ำ สภาพพื้นที่ : ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 % การระบายน้ำ : ค่อนข้างเลว การซึมผ่านได้ของน้ำ : ช้า การไหลบ่าของน้ำ
ชุดดินในที่ลุ่มที่สำคัญ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. ชุดดินร้อยเอ็ด (Roi-et series : Re) กลุ่มชุดดินที่ 17 การกำเนิด : เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผ่นดินบริเวณพื้นที่เกือบราบหรือที่ราบ สภาพพื้นที่ : ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
ชุดดินในที่ลุ่มที่สำคัญ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. ชุดดินร้อยเอ็ด (Roi-et series : Re) กลุ่มชุดดินที่ 17 การกำเนิด : เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผ่นดินบริเวณพื้นที่เกือบราบหรือที่ราบ สภาพพื้นที่ : ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
ชุดดินในที่ดอนที่สำคัญ ในภาคเหนือ 4. ชุดดินบ้านจ้อง (Ban Chong series : Bg) กลุ่มชุดดินที่ 29 การกำเนิด : เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพ เช่น หินดินดาน หินทรายแป้ง หินโคลน หินชนวน และหินฟิลไลท์ สภาพพื้นที่ : ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเป็นเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %
ชุดดินในที่ดอนที่สำคัญ ในภาคเหนือ 4. ชุดดินบ้านจ้อง (Ban Chong series : Bg) กลุ่มชุดดินที่ 29 การกำเนิด : เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพ เช่น หินดินดาน หินทรายแป้ง หินโคลน หินชนวน และหินฟิลไลท์ สภาพพื้นที่ : ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเป็นเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %
ชุดดินในที่ดอนที่สำคัญ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5. ชุดดินโคราช (โคราช series : Kt) กลุ่มชุดดินที่ 35 การกำเนิด : เกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ และ/หรือเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางไม่ไกลนักของหินตะกอนเนื้อหยาบพวกหินทรายบริเวณพื้นที่เกือบราบหรือที่เกือบราบ (peneplain)
ชุดดินในที่ดอนที่สำคัญ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5. ชุดดินโคราช (โคราช series : Kt) กลุ่มชุดดินที่ 35 การกำเนิด : เกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ และ/หรือเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางไม่ไกลนักของหินตะกอนเนื้อหยาบพวกหินทรายบริเวณพื้นที่เกือบราบหรือที่เกือบราบ (peneplain)