Play Video

บทความที่ KAS แนะนำ

อ่านบทความที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์

รถติดหล่ม รถไถแทรกเตอร์ติดหล่ม ปัญหาใหญ่ของการทำนาด้วยเครื่องจักรกลทางการเกษตร หากเกิดขึ้นมา อาจรบกวนเวลาการทำงานเป็นอย่างมากอีกทั้งยังทำให้ผลผลิตทางการเกษตรเสียหาย แต่จริง ๆ แล้วปัญหารถติดหล่มสามารถแก้ไขเองได้ไม่ยาก โดยบทความนี้ KUBOTA (Agri) Solutions ได้นำขั้นตอนการแก้ไขปัญหารถติดหล่มมาให้ถึง 6 วิธี จะมีอะไรบ้าง มาดูกันเลย
ประโยชน์ของดินทรายมีอะไรบ้าง ดินทรายเหมาะกับการปลูกพืชอะไร คำถามที่เกษตรกรไทยหลาย ๆ ท่านอาจกำลังต้องการคำตอบ เพราะดินทรายนั้นมีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่หากนำไปใช้ปลูกพืชอาจมีความยากลำบากพอสมควร แต่ถ้าเราค้นหาให้ลึกมากขึ้น จะพบว่าดินทรายก็มีประโยชน์อยู่ไม่น้อย ประโยชน์ของดินทรายและพืชที่ควรปลูกมีอะไรบ้าง KUBOTA (Agri) Solutions มาสรุปให้กับคุณแล้ว
“แทรกเตอร์ คูโบต้า” เป็นแทรกเตอร์ที่ช่วยทุ่นแรงในการทำการเกษตรให้กับเกษตรกร แต่การใช้งานก็ต้องควบคู่ไปกับการดูแลซ่อมบำรุงรักษา ตรวจเช็กสภาพ เพื่อยืดอายุการใช้งานของแทรกเตอร์คูโบต้าให้อยู่กับเราไปนาน ๆ เหมือนกับวันแรกที่ตัดสินใจลงทุนซื้อมา เทคนิคในการซ่อมบำรุงรักษาแทรกเตอร์คูโบต้าจะมีอะไรบ้าง ไปดูกันเลย

ปฏิทินการเพาะปลูก

ข้าว

ปฏิทินการเพาะปลูก

ข้าวโพด

ปฏิทินการเพาะปลูก

อ้อย

ปฏิทินการเพาะปลูก

มันสำปะหลัง

-, -, -

-

- ํC

ต่ำสุด - ํC สูงสุด - ํC

ปัจจุบัน

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

-

ราคารับซื้อ

-

สูงสุด

-

ต่ำสุด

-

-

-

ราคารับซื้อ

-

สูงสุด

-

ต่ำสุด

-

-

-

ราคารับซื้อ

-

สูงสุด

-

ต่ำสุด

-

-

-

ราคารับซื้อ

-

สูงสุด

-

ต่ำสุด

-

-

-

ราคารับซื้อ

-

สูงสุด

-

ต่ำสุด

-

-

-, -, -
-
- ํC

เลือกอ่านบทความที่เหมาะกับคุณได้เลย

จากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและชีวภาพ ของปุ๋ยอินทรีย์น้ำแต่ละชนิดที่วิเคราะห์โดยกรมพัฒนาที่ดินและกรมวิชาการเกษตร พบว่าประกอบด้วย ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม (จุลธาตุ) กรดอินทรีย์ พวกกรดฮิวมิก ฮอร์โมน พวกออกซิน จิบเบอร์เรลลิน และไซโตไคนิน เอนไซม์บางชนิด และจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์
1. โรคไหม้ดำเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum ในสภาพฝนตกชุกและความชื้นสูง ทำความเสียหายกับงาในระยะเจริญเติบโตถึงเก็บเกี่ยว การป้องกัน : ไม่ควรปลูกงาซ้ำที่เดิม ปลูกพืชไม่อาศัยของโรคหมุนเวียนกับงา ถอนต้นที่เริ่มแสดงอาการและเผาทำลายนอกแปลงปลูก ควรปลูกพันธุ์ทนทานต่อโรค เช่น พันธุ์อุบลราชธานี
ระบาดรุนแรง ในพื้นที่ที่มีความชื้นสูง เช่น ในเขตชลประทานหรือพื้นที่นา ทำให้ผลผลิตเสียหาย 30 – 100 เปอร์เซ็นต์ มีผลทำให้ CCS ลดลง โดยโรคเหี่ยวเน่าแดง เกิดจากการทำลายของเชื้อรา 2 ชนิด คือ Fusarium moniliforme และ Colletotrichum falcatum เชื้อ Fusarium moniliforme อยู่ในดิน สามารถ