Play Video

บทความที่ KAS แนะนำ

อ่านบทความที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์

รถติดหล่ม รถไถแทรกเตอร์ติดหล่ม ปัญหาใหญ่ของการทำนาด้วยเครื่องจักรกลทางการเกษตร หากเกิดขึ้นมา อาจรบกวนเวลาการทำงานเป็นอย่างมากอีกทั้งยังทำให้ผลผลิตทางการเกษตรเสียหาย แต่จริง ๆ แล้วปัญหารถติดหล่มสามารถแก้ไขเองได้ไม่ยาก โดยบทความนี้ KUBOTA (Agri) Solutions ได้นำขั้นตอนการแก้ไขปัญหารถติดหล่มมาให้ถึง 6 วิธี จะมีอะไรบ้าง มาดูกันเลย
ประโยชน์ของดินทรายมีอะไรบ้าง ดินทรายเหมาะกับการปลูกพืชอะไร คำถามที่เกษตรกรไทยหลาย ๆ ท่านอาจกำลังต้องการคำตอบ เพราะดินทรายนั้นมีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่หากนำไปใช้ปลูกพืชอาจมีความยากลำบากพอสมควร แต่ถ้าเราค้นหาให้ลึกมากขึ้น จะพบว่าดินทรายก็มีประโยชน์อยู่ไม่น้อย ประโยชน์ของดินทรายและพืชที่ควรปลูกมีอะไรบ้าง KUBOTA (Agri) Solutions มาสรุปให้กับคุณแล้ว
“แทรกเตอร์ คูโบต้า” เป็นแทรกเตอร์ที่ช่วยทุ่นแรงในการทำการเกษตรให้กับเกษตรกร แต่การใช้งานก็ต้องควบคู่ไปกับการดูแลซ่อมบำรุงรักษา ตรวจเช็กสภาพ เพื่อยืดอายุการใช้งานของแทรกเตอร์คูโบต้าให้อยู่กับเราไปนาน ๆ เหมือนกับวันแรกที่ตัดสินใจลงทุนซื้อมา เทคนิคในการซ่อมบำรุงรักษาแทรกเตอร์คูโบต้าจะมีอะไรบ้าง ไปดูกันเลย

ปฏิทินการเพาะปลูก

ข้าว

ปฏิทินการเพาะปลูก

ข้าวโพด

ปฏิทินการเพาะปลูก

อ้อย

ปฏิทินการเพาะปลูก

มันสำปะหลัง

-, -, -

-

- ํC

ต่ำสุด - ํC สูงสุด - ํC

ปัจจุบัน

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

00:00

- ํC

-

ราคารับซื้อ

-

สูงสุด

-

ต่ำสุด

-

-

-

ราคารับซื้อ

-

สูงสุด

-

ต่ำสุด

-

-

-

ราคารับซื้อ

-

สูงสุด

-

ต่ำสุด

-

-

-

ราคารับซื้อ

-

สูงสุด

-

ต่ำสุด

-

-

-

ราคารับซื้อ

-

สูงสุด

-

ต่ำสุด

-

-

-, -, -
-
- ํC

เลือกอ่านบทความที่เหมาะกับคุณได้เลย

อ้อยแตกใบเป็นฝอยคล้ายตะไคร้ ใบอาจมีสีเขียวปกติหรือสีซีด ใบเล็กมากถ้าเป็นอ้อยปลูก จะให้ลำเล็กกว่าปกติและจำนวนลำในแต่ละกอน้อย ถ้าเป็นอ้อยตอ จะไม่ได้ลำเลย อาจรุนแรงจนต้องไถทิ้ง
พี่ธนะ มงคลชัย เกษตรกรอินทรีย์แห่งบ้านหนองตาเรือง ต.แม่ระกา อ.วังทอง จ.พิษณุโลก เป็นเกษตรกรชาวนาที่ทำนามาตั้งแต่สมัยปู่ย่าตายายแล้ว แต่ผลผลิตข้าวที่ได้กลับลดลงเรื่อยๆ ทั้งที่ตนเองก็เพิ่มปริมาณปุ๋ยเคมีขึ้นทุกปี เขาจึงศึกษาเพิ่มเติมเพื่อหาว่าจะทำอย่างไรให้ข้าวที่ตนปลูกได้ผลผลิตมากขึ้น และลดต้นทุนในการ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น สนับสนุน โครงการบริหารจัดการเชื้อพันธุกรรมข้าวโพด โดยดำเนินการภายใต้ศูนย์วิจัยปรับปรุงพันธ์พืชเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืน ซึ่งม รศ.ดร.กมล เลิศรัตน์ เป็นผู้อำนวยการศูนย์ฯ ได้เก็บ รวบรวมเชื้อพันธุกรรมข้าวโพด เน้นกลุ่มข้าวโพดฝัก