Tag

ข้าว

เลือกตามประเภทเนื้อหา
พบมาก ในนาชลประทาน ภาคกลาง และภาคเหนือตอนล่าง สาเหตุ เชื้อไวรัส Rice Ragged Stunt Virus (RRSV) อาการ ต้นข้าวเป็นโรคได้ ทั้ง ระยะกล้า แตกกอ ตั้งท้อง อาการของต้นข้าวที่เป็นโรค สังเกตได้ง่าย คือ ข้าวต้นเตี้ยกว่าปกติ ใบแคบและสั้นสีเขียวเข้ม แตกใบใหม่ช้ากว่าปกติ แผ่นใบไม่สมบ
พบมาก ในนาชลประทาน ภาคกลาง และภาคเหนือตอนล่าง สาเหตุ เชื้อไวรัส Rice Ragged Stunt Virus (RRSV) อาการ ต้นข้าวเป็นโรคได้ ทั้ง ระยะกล้า แตกกอ ตั้งท้อง อาการของต้นข้าวที่เป็นโรค สังเกตได้ง่าย คือ ข้าวต้นเตี้ยกว่าปกติ ใบแคบและสั้นสีเขียวเข้ม แตกใบใหม่ช้ากว่าปกติ แผ่นใบไม่สมบ
พบมาก : ในนาชลประทาน ภาคกลาง ภาคตะวันตก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้สาเหตุเชื้อรา สาเหตุหลัก 6 ชนิดได้แก่ Curvularia lunata(Wakk) Boed. Cercospora oryzaeI.Miyake. Bipolaris oryzaeBreda de Haan. Fusarium semitectumBerk & Rav.
พบมาก : ในนาชลประทาน ภาคกลาง ภาคตะวันตก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้สาเหตุเชื้อรา สาเหตุหลัก 6 ชนิดได้แก่ Curvularia lunata(Wakk) Boed. Cercospora oryzaeI.Miyake. Bipolaris oryzaeBreda de Haan. Fusarium semitectumBerk & Rav.
พบมาก ในนาชลประทาน ภาคกลาง สาเหตุ เชื้อไวรัส Rice Grassy Stunt Virus (RGSV) อาการ ต้นข้าวเป็นโรคได้ ทั้งระยะกล้า แตกกอ ตั้งท้อง ต้นเตี้ยแคระแกรน เป็นพุ่มแจ้ แตกกอมาก เชื้อสาเหตุสายพันธุ์เดิมทำให้เกิดอาการใบแคบสีเขียวเข้ม แต่ในปัจจุบัน เชื้อสาเหตุสายพันธุ์ใหม่ที่พบทำให้เกิด
พบมาก ในนาชลประทาน ภาคกลาง สาเหตุ เชื้อไวรัส Rice Grassy Stunt Virus (RGSV) อาการ ต้นข้าวเป็นโรคได้ ทั้งระยะกล้า แตกกอ ตั้งท้อง ต้นเตี้ยแคระแกรน เป็นพุ่มแจ้ แตกกอมาก เชื้อสาเหตุสายพันธุ์เดิมทำให้เกิดอาการใบแคบสีเขียวเข้ม แต่ในปัจจุบัน เชื้อสาเหตุสายพันธุ์ใหม่ที่พบทำให้เกิด
พบมาก : ในนาชลประทาน ภาคกลาง สาเหตุ : พบทุกภาคที่มีการระบาดของแมลงพาหะ อาการ : ข้าวเป็นโรคได้ตั้งแต่ระยะแตกกอจนถึงระยะตั้งท้อง ต้นข้าวที่เป็นโรคนี้ ใบแสดงอาการสีแสดจากปลายใบที่ใบล่าง และเป็นสีแสดทั่วทั้งใบยกเว้นเส้นกลางใบ ใบที่เป็นโรคจะม้วนจากขอบใบทั้งสองข้างเข้ามาหาเส้นกลางใบ และใบจะ
พบมาก : ในนาชลประทาน ภาคกลาง สาเหตุ : พบทุกภาคที่มีการระบาดของแมลงพาหะ อาการ : ข้าวเป็นโรคได้ตั้งแต่ระยะแตกกอจนถึงระยะตั้งท้อง ต้นข้าวที่เป็นโรคนี้ ใบแสดงอาการสีแสดจากปลายใบที่ใบล่าง และเป็นสีแสดทั่วทั้งใบยกเว้นเส้นกลางใบ ใบที่เป็นโรคจะม้วนจากขอบใบทั้งสองข้างเข้ามาหาเส้นกลางใบ และใบจะ
สาเหตุเชื้อรา Bipolaris oryzae ชื่อเดิม Helminthosporium oryzae (Breda de Haan.) Shoemaker, 1959 ลักษณะอาการ จะเกิดแผลที่ใบข้าว โดยพบมากในระยะแตกกอ มีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลรูปกลม หรือรูปไข่ ขอบนอกของใบแผลมีสีเหลือง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 – 1 มิลลิเมตร แผลที่มีการพัฒนาเต็มที่ขนาดประมาณ 1- 2
สาเหตุเชื้อรา Bipolaris oryzae ชื่อเดิม Helminthosporium oryzae (Breda de Haan.) Shoemaker, 1959 ลักษณะอาการ จะเกิดแผลที่ใบข้าว โดยพบมากในระยะแตกกอ มีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลรูปกลม หรือรูปไข่ ขอบนอกของใบแผลมีสีเหลือง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 – 1 มิลลิเมตร แผลที่มีการพัฒนาเต็มที่ขนาดประมาณ 1- 2
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Trichoderma harzianum วงศ์ (Family) : Moniliaceae อันดับ (Order) : Hypocreales ประโยชน์และความหมาย เชื้อราไตรโครเดอร์มา (Trichoderma harzianum) เป็นเชื้อราที่ดำรงชีวิตอยู่ในดิน โดยอาศัยซากพืช ซากสัตว์ และอินทรียวัตถุเป็นอาหาร สร้างเส้นใยสีขาวและสปอร์มีสี
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Trichoderma harzianum วงศ์ (Family) : Moniliaceae อันดับ (Order) : Hypocreales ประโยชน์และความหมาย เชื้อราไตรโครเดอร์มา (Trichoderma harzianum) เป็นเชื้อราที่ดำรงชีวิตอยู่ในดิน โดยอาศัยซากพืช ซากสัตว์ และอินทรียวัตถุเป็นอาหาร สร้างเส้นใยสีขาวและสปอร์มีสี
โรคไหม้ คืออะไร ? สาเหตุเกิดจาก เชื้อรา Pyricularia grisea Sacc. พบมาก ในน้ำฝน ข้าวพันธุ์พื้นเมืองไวต่อช่วงแสง พบส่วนใหญ่ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้
โรคไหม้ คืออะไร ? สาเหตุเกิดจาก เชื้อรา Pyricularia grisea Sacc. พบมาก ในน้ำฝน ข้าวพันธุ์พื้นเมืองไวต่อช่วงแสง พบส่วนใหญ่ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้
ไนโตรเจนเป็นธาตุอาหารที่ช่วยเร่งการเจริญเติบโต และการแตกกอของข้าว เป็นองค์ประกอบของเม็ดสีในเซลล์พืช การขาดไนโตรเจนพบได้ทั่วไป โดยเฉพาะในดินนาเนื้อหยาบ เช่น ดินทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือในดินที่ขาดการจัดการที่เหมาะสม
ไนโตรเจนเป็นธาตุอาหารที่ช่วยเร่งการเจริญเติบโต และการแตกกอของข้าว เป็นองค์ประกอบของเม็ดสีในเซลล์พืช การขาดไนโตรเจนพบได้ทั่วไป โดยเฉพาะในดินนาเนื้อหยาบ เช่น ดินทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือในดินที่ขาดการจัดการที่เหมาะสม
เมล็ดเหลืองในข้าวเกิดจากกระบวนการ Browning Reaction เป็นการรวมตัวของน้ำตาล และ สารประกอบกรดอะมิโน เป็นปฏิกิริยาที่ไม่ต้องใช้ เอนไซม์ ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการนี้คือ ความชื้น อุณหภูมิ และความเป็นกรด - ด่าง
เมล็ดเหลืองในข้าวเกิดจากกระบวนการ Browning Reaction เป็นการรวมตัวของน้ำตาล และ สารประกอบกรดอะมิโน เป็นปฏิกิริยาที่ไม่ต้องใช้ เอนไซม์ ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการนี้คือ ความชื้น อุณหภูมิ และความเป็นกรด - ด่าง
เมล็ดที่มีการฟักตัว คือ เมล็ดที่มีชีวิตแต่ไม่งอก แม้จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ระยะฟักตัวหาได้จากจำนวนวันหลังจากเก็บเกี่ยว ถึงวันที่เมล็ดงาน 80% โดบนับทั้งต้นอ่อนสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ ระยะฟักตัวของข้าวแตกต่างกันไปตามพันธุ์
เมล็ดที่มีการฟักตัว คือ เมล็ดที่มีชีวิตแต่ไม่งอก แม้จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ระยะฟักตัวหาได้จากจำนวนวันหลังจากเก็บเกี่ยว ถึงวันที่เมล็ดงาน 80% โดบนับทั้งต้นอ่อนสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ ระยะฟักตัวของข้าวแตกต่างกันไปตามพันธุ์