Tag

ยางพารา

เลือกตามประเภทเนื้อหา
สำหรับคำแนะนำในการปลูกพืชแซมยาง พืชร่วมยาง และกิจกรรมเสริมรายได้ ของชาวสวนยาง เกษตรกรจะต้องพิจารณาความเหมาะสมของชนิดพืชโดยเฉพาะในประเด็นของการเจริญเติบโตในสภาพร่มเงา ตลอดจนวิธีการปลูกพืชร่วมกับยางโดยไม่ให้มีผลกระทบที่จะสร้างความเสียหายกับการเจริญเติบโตของยาง ซึ่งได้มีการศึกษาวิจัยพบว่ามีชนิดพืช
สำหรับคำแนะนำในการปลูกพืชแซมยาง พืชร่วมยาง และกิจกรรมเสริมรายได้ ของชาวสวนยาง เกษตรกรจะต้องพิจารณาความเหมาะสมของชนิดพืชโดยเฉพาะในประเด็นของการเจริญเติบโตในสภาพร่มเงา ตลอดจนวิธีการปลูกพืชร่วมกับยางโดยไม่ให้มีผลกระทบที่จะสร้างความเสียหายกับการเจริญเติบโตของยาง ซึ่งได้มีการศึกษาวิจัยพบว่ามีชนิดพืช
หลักพิจารณาสภาพพื้นที่ในการสร้างแปลงเพาะกล้ายาง 1. พื้นที่สำหรับสร้างแปลงกล้า – ควรเป็นที่ราบ สามารถระบายน้ำได้ดี อยู่ใกล้แหล่งน้ำ การคมนาคมสะดวก ดินร่วน ดินที่ไม่เหมาะสมคือ ดินทรายจัด และดินเหนียว เพราะการระบายน้ำไม่ดี 2. การเตรียมดิน – ไถพลิกดิน
หลักพิจารณาสภาพพื้นที่ในการสร้างแปลงเพาะกล้ายาง 1. พื้นที่สำหรับสร้างแปลงกล้า – ควรเป็นที่ราบ สามารถระบายน้ำได้ดี อยู่ใกล้แหล่งน้ำ การคมนาคมสะดวก ดินร่วน ดินที่ไม่เหมาะสมคือ ดินทรายจัด และดินเหนียว เพราะการระบายน้ำไม่ดี 2. การเตรียมดิน – ไถพลิกดิน
การใส่ปุ๋ย สูตรปุ๋ยยางพาราที่กรมวิชาการเกษตรแนะนำให้ใช้ในปัจจุบันมี 6 สูตร แต่ละสูตรจะเหมาะสมกับเนื้อดินและอายุของต้นยางแตกต่างกัน ดังแสดงไว้ในตาราง ตารางแสดงสูตรปุ๋ยที่มีความเหมาะสมกับเนื้อดินและอายุของต้นยาง หมายเหตุ ฟอสฟอรัสในสูตรปุ๋ยเม็ดเป็นค่าของฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ฟอสฟอรัสในสูตรปุ๋ยผสม
การใส่ปุ๋ย สูตรปุ๋ยยางพาราที่กรมวิชาการเกษตรแนะนำให้ใช้ในปัจจุบันมี 6 สูตร แต่ละสูตรจะเหมาะสมกับเนื้อดินและอายุของต้นยางแตกต่างกัน ดังแสดงไว้ในตาราง ตารางแสดงสูตรปุ๋ยที่มีความเหมาะสมกับเนื้อดินและอายุของต้นยาง หมายเหตุ ฟอสฟอรัสในสูตรปุ๋ยเม็ดเป็นค่าของฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ฟอสฟอรัสในสูตรปุ๋ยผสม
การใส่ปุ๋ย สูตรปุ๋ยยางพาราที่กรมวิชาการเกษตรแนะนำให้ใช้ในปัจจุบันมี 6 สูตร แต่ละสูตรจะเหมาะสมกับเนื้อดินและอายุของต้นยางแตกต่างกัน ดังแสดงไว้ในตาราง ตารางแสดงสูตรปุ๋ยที่มีความเหมาะสมกับเนื้อดินและอายุของต้นยาง หมายเหตุ ฟอสฟอรัสในสูตรปุ๋ยเม็ดเป็นค่าของฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ฟอสฟอรัสใน
การใส่ปุ๋ย สูตรปุ๋ยยางพาราที่กรมวิชาการเกษตรแนะนำให้ใช้ในปัจจุบันมี 6 สูตร แต่ละสูตรจะเหมาะสมกับเนื้อดินและอายุของต้นยางแตกต่างกัน ดังแสดงไว้ในตาราง ตารางแสดงสูตรปุ๋ยที่มีความเหมาะสมกับเนื้อดินและอายุของต้นยาง หมายเหตุ ฟอสฟอรัสในสูตรปุ๋ยเม็ดเป็นค่าของฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ฟอสฟอรัสใน
จากการสํารวจสวนยางเกษตรกรในพื้นที่จังหวัด กระบี่ ตรัง สตูล โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร สงขลา พบการแพร่กระจายของแมลงชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นแมลงปีกแข็ง ลําตัวส่วนใหญ่ดําเข้าปกคลุมต้นยางตั้งแต่เหนือโคนต้นขึ้นไป และกระจายตัวอยู่รอบบริเวณพื้นดิน ซึ่งการกระจายตัวของแมลง สร้างความกังวลให้แก่ชาวสวนยางพารา
จากการสํารวจสวนยางเกษตรกรในพื้นที่จังหวัด กระบี่ ตรัง สตูล โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร สงขลา พบการแพร่กระจายของแมลงชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นแมลงปีกแข็ง ลําตัวส่วนใหญ่ดําเข้าปกคลุมต้นยางตั้งแต่เหนือโคนต้นขึ้นไป และกระจายตัวอยู่รอบบริเวณพื้นดิน ซึ่งการกระจายตัวของแมลง สร้างความกังวลให้แก่ชาวสวนยางพารา
ในช่วงนี้เป็นฤดูฝน สภาพอากาศมีความชื้นสูงซึ่งเหมาะสมต่อการเจริญของเชื้อราไฟท๊อปธอร่าสาเหตุโรค ใบร่วงของยางพารา เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงยางพาราอย่างสม่ำเสมอ และเฝ้าระวังการระบาดของโรคใบร่วงจากเชื้อราไฟท๊อปธอร่า เชื้อสาเหตุ เชื้อรา Phytophthora botryosa chee, Phytophthora palmivora (Butl.)
ในช่วงนี้เป็นฤดูฝน สภาพอากาศมีความชื้นสูงซึ่งเหมาะสมต่อการเจริญของเชื้อราไฟท๊อปธอร่าสาเหตุโรค ใบร่วงของยางพารา เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงยางพาราอย่างสม่ำเสมอ และเฝ้าระวังการระบาดของโรคใบร่วงจากเชื้อราไฟท๊อปธอร่า เชื้อสาเหตุ เชื้อรา Phytophthora botryosa chee, Phytophthora palmivora (Butl.)
ทำไมยางพาราที่ปลูกภาคอีสานจึงยืนต้นตายตอนหน้าแล้ง คงต้องอธิบายก่อนว่ายางพาราและไม้ยืนต้นอื่นๆ เจริญเติบโตตามความลึกของราก รากยิ่งลึกต้นก็ยิ่งสูง และยิ่งเจริญเติบโตดี แต่ภาคอีสานมีชั้นหน้าดินน้อย ดินดานหรือชั้นทรายแป้งอยู่ในระดับสูง จึงทำให้รากไม่สามารถแทรกลงลึกไปในดินได้ สิ่งที่เห็นก็คือต้นยางพารา
ทำไมยางพาราที่ปลูกภาคอีสานจึงยืนต้นตายตอนหน้าแล้ง คงต้องอธิบายก่อนว่ายางพาราและไม้ยืนต้นอื่นๆ เจริญเติบโตตามความลึกของราก รากยิ่งลึกต้นก็ยิ่งสูง และยิ่งเจริญเติบโตดี แต่ภาคอีสานมีชั้นหน้าดินน้อย ดินดานหรือชั้นทรายแป้งอยู่ในระดับสูง จึงทำให้รากไม่สามารถแทรกลงลึกไปในดินได้ สิ่งที่เห็นก็คือต้นยางพารา