Tag

สยามคูโบต้า

เลือกตามประเภทเนื้อหา
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Trichoderma harzianum วงศ์ (Family) : Moniliaceae อันดับ (Order) : Hypocreales ประโยชน์และความหมาย เชื้อราไตรโครเดอร์มา (Trichoderma harzianum) เป็นเชื้อราที่ดำรงชีวิตอยู่ในดิน โดยอาศัยซากพืช ซากสัตว์ และอินทรียวัตถุเป็นอาหาร สร้างเส้นใยสีขาวและสปอร์มีสี
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Trichoderma harzianum วงศ์ (Family) : Moniliaceae อันดับ (Order) : Hypocreales ประโยชน์และความหมาย เชื้อราไตรโครเดอร์มา (Trichoderma harzianum) เป็นเชื้อราที่ดำรงชีวิตอยู่ในดิน โดยอาศัยซากพืช ซากสัตว์ และอินทรียวัตถุเป็นอาหาร สร้างเส้นใยสีขาวและสปอร์มีสี
โรคไหม้ คืออะไร ? สาเหตุเกิดจาก เชื้อรา Pyricularia grisea Sacc. พบมาก ในน้ำฝน ข้าวพันธุ์พื้นเมืองไวต่อช่วงแสง พบส่วนใหญ่ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้
โรคไหม้ คืออะไร ? สาเหตุเกิดจาก เชื้อรา Pyricularia grisea Sacc. พบมาก ในน้ำฝน ข้าวพันธุ์พื้นเมืองไวต่อช่วงแสง พบส่วนใหญ่ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้
ไนโตรเจนเป็นธาตุอาหารที่ช่วยเร่งการเจริญเติบโต และการแตกกอของข้าว เป็นองค์ประกอบของเม็ดสีในเซลล์พืช การขาดไนโตรเจนพบได้ทั่วไป โดยเฉพาะในดินนาเนื้อหยาบ เช่น ดินทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือในดินที่ขาดการจัดการที่เหมาะสม
ไนโตรเจนเป็นธาตุอาหารที่ช่วยเร่งการเจริญเติบโต และการแตกกอของข้าว เป็นองค์ประกอบของเม็ดสีในเซลล์พืช การขาดไนโตรเจนพบได้ทั่วไป โดยเฉพาะในดินนาเนื้อหยาบ เช่น ดินทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือในดินที่ขาดการจัดการที่เหมาะสม
เมล็ดเหลืองในข้าวเกิดจากกระบวนการ Browning Reaction เป็นการรวมตัวของน้ำตาล และ สารประกอบกรดอะมิโน เป็นปฏิกิริยาที่ไม่ต้องใช้ เอนไซม์ ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการนี้คือ ความชื้น อุณหภูมิ และความเป็นกรด - ด่าง
เมล็ดเหลืองในข้าวเกิดจากกระบวนการ Browning Reaction เป็นการรวมตัวของน้ำตาล และ สารประกอบกรดอะมิโน เป็นปฏิกิริยาที่ไม่ต้องใช้ เอนไซม์ ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการนี้คือ ความชื้น อุณหภูมิ และความเป็นกรด - ด่าง
เมล็ดที่มีการฟักตัว คือ เมล็ดที่มีชีวิตแต่ไม่งอก แม้จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ระยะฟักตัวหาได้จากจำนวนวันหลังจากเก็บเกี่ยว ถึงวันที่เมล็ดงาน 80% โดบนับทั้งต้นอ่อนสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ ระยะฟักตัวของข้าวแตกต่างกันไปตามพันธุ์
เมล็ดที่มีการฟักตัว คือ เมล็ดที่มีชีวิตแต่ไม่งอก แม้จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ระยะฟักตัวหาได้จากจำนวนวันหลังจากเก็บเกี่ยว ถึงวันที่เมล็ดงาน 80% โดบนับทั้งต้นอ่อนสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ ระยะฟักตัวของข้าวแตกต่างกันไปตามพันธุ์
ประโยชน์ของเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี - ความงอกและความแข็งแรงสูง เจริญเติบโตเร็วและสม่ำเสมอ ทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดี ได้ต้นข้าวและผลผลิตตามพันธุ์ ให้ผลผลิตสูงกว่าเมล็ดทั่วไป ประหยัดต้นต่อไร่ ป้องกันการแพร่ระบาดของข้าววัชพืช
ประโยชน์ของเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี - ความงอกและความแข็งแรงสูง เจริญเติบโตเร็วและสม่ำเสมอ ทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดี ได้ต้นข้าวและผลผลิตตามพันธุ์ ให้ผลผลิตสูงกว่าเมล็ดทั่วไป ประหยัดต้นต่อไร่ ป้องกันการแพร่ระบาดของข้าววัชพืช
พันธุ์ข้าวที่ใช้เมล็ดพันธุ์ปลูกติดต่อกันต่อเนื่องหลายฤดูกาล โดยไม่ได้คัดเลือกอย่างถูกวิธี เช่น พันธุ์ข้าวพื้นเมือง มักจะมีปัญหาจากการปะปนจากพันธุ์อื่น ทำให้ต้นข้าวในแปลงมีความแตกต่างกันหลายลักษณะ ทำให้ผลผลิตที่ได้ด้อยคุณภาพ
พันธุ์ข้าวที่ใช้เมล็ดพันธุ์ปลูกติดต่อกันต่อเนื่องหลายฤดูกาล โดยไม่ได้คัดเลือกอย่างถูกวิธี เช่น พันธุ์ข้าวพื้นเมือง มักจะมีปัญหาจากการปะปนจากพันธุ์อื่น ทำให้ต้นข้าวในแปลงมีความแตกต่างกันหลายลักษณะ ทำให้ผลผลิตที่ได้ด้อยคุณภาพ
พันธุ์ข้าวที่ใช้ปลูกควรมีคุณสมบัติด้านการเจริญเติบโตเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในพื้นที่ปลูก และให้ผลผลิตดีแม้ในสภาพดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ำ
พันธุ์ข้าวที่ใช้ปลูกควรมีคุณสมบัติด้านการเจริญเติบโตเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในพื้นที่ปลูก และให้ผลผลิตดีแม้ในสภาพดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ำ
ตรวจสอบความชื้นของเมล็ดพันธุ์ข้าว ตรวจสอบความบริสุทธิ์ของเมล็ดพันธุ์ข้าวและสิ่งเจือปน ตรวจสอบปริมาณข้าวแดง และข้าวเหนียวปนในข้าวเจ้าหรือข้าวเจ้าปนในข้าวเหนียว ตรวจสอบความบริสุทธิ์ของพันธุ์ข้าว ข้าวปนหรือเมล็ดพืชอื่นปน ตรวจสอบปริมาณเมล็ดเป็นโรคและแมลงที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ข้าว ตรวจสอบความงอกหรือความม
ตรวจสอบความชื้นของเมล็ดพันธุ์ข้าว ตรวจสอบความบริสุทธิ์ของเมล็ดพันธุ์ข้าวและสิ่งเจือปน ตรวจสอบปริมาณข้าวแดง และข้าวเหนียวปนในข้าวเจ้าหรือข้าวเจ้าปนในข้าวเหนียว ตรวจสอบความบริสุทธิ์ของพันธุ์ข้าว ข้าวปนหรือเมล็ดพืชอื่นปน ตรวจสอบปริมาณเมล็ดเป็นโรคและแมลงที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ข้าว ตรวจสอบความงอกหรือความม
ชนิด : ข้าวเจ้า คู่ผสม : การผสมเดี่ยว ระหว่างพันธุ์ข้าวเจ้าหอมสุพรรณบุรี และพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ประวัติพันธุ์ :ทดสอบที่ศูนย์วิจัยข้าวสุพรรณบุรี ในฤดูนาปรัง เมื่อปี พ.ศ. 2542 และปลูกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์ SPR99007-22-1-2-2-1 ทดสอบผลผลิตในสถานีระหว่างสถานีในนาราษฎร์ โดยมีทดสอบความ ต้านทานต่อโรคและแมลงศ
ชนิด : ข้าวเจ้า คู่ผสม : การผสมเดี่ยว ระหว่างพันธุ์ข้าวเจ้าหอมสุพรรณบุรี และพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ประวัติพันธุ์ :ทดสอบที่ศูนย์วิจัยข้าวสุพรรณบุรี ในฤดูนาปรัง เมื่อปี พ.ศ. 2542 และปลูกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์ SPR99007-22-1-2-2-1 ทดสอบผลผลิตในสถานีระหว่างสถานีในนาราษฎร์ โดยมีทดสอบความ ต้านทานต่อโรคและแมลงศ