Tag

สยามคูโบต้า

เลือกตามประเภทเนื้อหา
ตัวเบียนเป็นสิ่งมีชีวิตที่เบียดเบียนด้านบนหรือด้านในตัวศัตรูอ้อยเพื่อการเจริญเติบโต หรือดำรงอยู่จนครบวงจรชีวิต ทำให้เหยื่ออ่อนแอและตายในที่สุด
ตัวเบียนเป็นสิ่งมีชีวิตที่เบียดเบียนด้านบนหรือด้านในตัวศัตรูอ้อยเพื่อการเจริญเติบโต หรือดำรงอยู่จนครบวงจรชีวิต ทำให้เหยื่ออ่อนแอและตายในที่สุด
การระบาดของแมลงศัตรูอ้อยในช่วงเดือนต่างๆ ได้แก่ หนอนกอลายจุดเล็ก หนอนกอลายจุดใหญ่ หนอนกอลายใหญ่ หนอนกอลายแถบแดง หนอนกอสีชมพู หนอนกอสีขาว แมลงหวี่ขาวอ้อย เพลี้ยกระโดดอ้อย เพลี้ยจักจั่นสีน้ำตาล เพลี้ยจักจั่นงวง เพลี้ยกระโดดดำ เพลี้ยหอยอ้อย เพลี้ยอ่อนสำลี เพลี้ยแป้งสีชมพู มวนอ้อย ไรแมงมุมอ้อย ด้วงหนวดยาวอ้อย แมลงนูนหลวง ปลวกอ้อย แมลงค่อมทอง ด้วงขี้ควาย ด้วงดำ ด้วงงวงอ้อย ตั๊กแตนไฮโรไกรฟัส ตั๊กแตนโลกัสต้า ตั๊กแตนปาทังก้า และหนอนบุ้ง
การระบาดของแมลงศัตรูอ้อยในช่วงเดือนต่างๆ ได้แก่ หนอนกอลายจุดเล็ก หนอนกอลายจุดใหญ่ หนอนกอลายใหญ่ หนอนกอลายแถบแดง หนอนกอสีชมพู หนอนกอสีขาว แมลงหวี่ขาวอ้อย เพลี้ยกระโดดอ้อย เพลี้ยจักจั่นสีน้ำตาล เพลี้ยจักจั่นงวง เพลี้ยกระโดดดำ เพลี้ยหอยอ้อย เพลี้ยอ่อนสำลี เพลี้ยแป้งสีชมพู มวนอ้อย ไรแมงมุมอ้อย ด้วงหนวดยาวอ้อย แมลงนูนหลวง ปลวกอ้อย แมลงค่อมทอง ด้วงขี้ควาย ด้วงดำ ด้วงงวงอ้อย ตั๊กแตนไฮโรไกรฟัส ตั๊กแตนโลกัสต้า ตั๊กแตนปาทังก้า และหนอนบุ้ง
หนอนชอนใบอ้อย (แมลงดำหนามอ้อย) (Sugarcane hispid beetle) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhadinosa reticulate Baly วงศ์ : Hispidae รูปร่างลักษณะ : หนอนชอนใบอ้อย หรือ แมลงดำหนามอ้อย เป็นด้วงปีกแข็งมีขนาดเล็ก ตัวยาว 3-4 มิลลิเมตร มีสีดำ บนหลังและปีกมีหนามแข็งยาวแหลมอยู่ทั่วไป ตัวเมียวางไข่ใบเดี่ยว ๆ ไว้ใต้
หนอนชอนใบอ้อย (แมลงดำหนามอ้อย) (Sugarcane hispid beetle) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhadinosa reticulate Baly วงศ์ : Hispidae รูปร่างลักษณะ : หนอนชอนใบอ้อย หรือ แมลงดำหนามอ้อย เป็นด้วงปีกแข็งมีขนาดเล็ก ตัวยาว 3-4 มิลลิเมตร มีสีดำ บนหลังและปีกมีหนามแข็งยาวแหลมอยู่ทั่วไป ตัวเมียวางไข่ใบเดี่ยว ๆ ไว้ใต้
ด้วงหนวดยาว จัดเป็นแมลงศัตรูอ้อยที่สำคัญต่อการปลูกอ้อย โดยสามารถเข้าทำลายอ้อยตั้งแต่ระยะเริ่มปลูกจนถึงระยะเก็บเกี่ยว โดยหนอนของด้วงหนวดยาวจะเข้าไปในส่วนของลำต้นอ้อยที่อยู่ใต้ดิน ทำให้อ้อยแห้งตาย ในอ้อยปลูกหากพบด้วงหนวดยาวเข้าทำลายจะส่งผลให้ผลผลิตอ้อยลดลง 13-43 % และน้ำตาลลดลง 11-46 % ส่วนอ้อย
ด้วงหนวดยาว จัดเป็นแมลงศัตรูอ้อยที่สำคัญต่อการปลูกอ้อย โดยสามารถเข้าทำลายอ้อยตั้งแต่ระยะเริ่มปลูกจนถึงระยะเก็บเกี่ยว โดยหนอนของด้วงหนวดยาวจะเข้าไปในส่วนของลำต้นอ้อยที่อยู่ใต้ดิน ทำให้อ้อยแห้งตาย ในอ้อยปลูกหากพบด้วงหนวดยาวเข้าทำลายจะส่งผลให้ผลผลิตอ้อยลดลง 13-43 % และน้ำตาลลดลง 11-46 % ส่วนอ้อย
หนอนกออ้อย (Sugarcane Borer) อาจจะเรียกว่าหนอนเจาะหน่ออ้อย หรือหนอนเจาะลำต้นอ้อย หมายถึง แมลงในระยะตัวอ่อนที่อาศัยกัดกินอยู่ภายในหน่ออ้อยหรือลำต้นอ้อย ทำให้ไส้กลวงหรือเกิดเป็นแผลภายใน หากมองจากด้านนอกจะเห็นว่ายอดเหี่ยวและแห้งตาย ในประเทศไทยมีหนอนกออ้อยอยู่ 5 ชนิด คือ 1. หนอนกอลายจุด
หนอนกออ้อย (Sugarcane Borer) อาจจะเรียกว่าหนอนเจาะหน่ออ้อย หรือหนอนเจาะลำต้นอ้อย หมายถึง แมลงในระยะตัวอ่อนที่อาศัยกัดกินอยู่ภายในหน่ออ้อยหรือลำต้นอ้อย ทำให้ไส้กลวงหรือเกิดเป็นแผลภายใน หากมองจากด้านนอกจะเห็นว่ายอดเหี่ยวและแห้งตาย ในประเทศไทยมีหนอนกออ้อยอยู่ 5 ชนิด คือ 1. หนอนกอลายจุด
เชื้อราบิวเวอเรีย (Bauveria bassiana) เป็นเชื้อราในดินที่พบได้ทั่วไป มันเข้าทำลายแมลงทั้งตัวอ่อนและตัวแก่ได้อย่างกว้างขวาง พบว่าเชื้อราขาวเป็นศัตรูกับแมลงศัตรูพืชที่สาคัญๆ เช่น แมลงหวี่ขาว เพลี้ยอ่อน ตั๊กแตน ปลวก ด้วงงวงมันเทศ (Colorado potato beetle) ด้วงถั่วเม็กซิกัน (Mexican bean beetle) ด้วงญี่ปุ่น
เชื้อราบิวเวอเรีย (Bauveria bassiana) เป็นเชื้อราในดินที่พบได้ทั่วไป มันเข้าทำลายแมลงทั้งตัวอ่อนและตัวแก่ได้อย่างกว้างขวาง พบว่าเชื้อราขาวเป็นศัตรูกับแมลงศัตรูพืชที่สาคัญๆ เช่น แมลงหวี่ขาว เพลี้ยอ่อน ตั๊กแตน ปลวก ด้วงงวงมันเทศ (Colorado potato beetle) ด้วงถั่วเม็กซิกัน (Mexican bean beetle) ด้วงญี่ปุ่น
สาเหตุ : เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas rubrilineans การระบาด 1. ระบาดไปทางท่อนพันธุ์ 2. ระบาดโดยทางลม ฝน โดยพัดพาเชื้อจากต้นที่เป็นโรคไปติดต้นอ้อยข้างเคียง ลักษณะอาการ ใบมีเส้นสีแดงเป็นขีดยาวตามความยาวของใบบางครั้งรอยขีดติดกันเป็นปื้น ต่อมาเชื้อลามไปในยอด ทําให้มีอาการยอดเน่าบางพันธุ์อาจพบ
สาเหตุ : เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas rubrilineans การระบาด 1. ระบาดไปทางท่อนพันธุ์ 2. ระบาดโดยทางลม ฝน โดยพัดพาเชื้อจากต้นที่เป็นโรคไปติดต้นอ้อยข้างเคียง ลักษณะอาการ ใบมีเส้นสีแดงเป็นขีดยาวตามความยาวของใบบางครั้งรอยขีดติดกันเป็นปื้น ต่อมาเชื้อลามไปในยอด ทําให้มีอาการยอดเน่าบางพันธุ์อาจพบ
สาเหตุ : เกิดจากเชื้อรา Ustilago scitaminea การระบาด 1. การระบาดเป็นไปอย่างกว้างขวางโดยทางท่อนพันธุ์จากกอที่เป็นโรค 2. เชื้ออยู่ในดินและสามารถเข้าทําลายอ้อยที่ปลูกใหม่ได้ 3. เชื้อสามารถแพร่กระจายได้โดยลมและเข้าทําลายพันธุ์ที่อ่อนแอได้ ลักษณะอาการ อ้อยจะแตกยอดออกมาเป็นแส้สีดําแทนยอดปกติ
สาเหตุ : เกิดจากเชื้อรา Ustilago scitaminea การระบาด 1. การระบาดเป็นไปอย่างกว้างขวางโดยทางท่อนพันธุ์จากกอที่เป็นโรค 2. เชื้ออยู่ในดินและสามารถเข้าทําลายอ้อยที่ปลูกใหม่ได้ 3. เชื้อสามารถแพร่กระจายได้โดยลมและเข้าทําลายพันธุ์ที่อ่อนแอได้ ลักษณะอาการ อ้อยจะแตกยอดออกมาเป็นแส้สีดําแทนยอดปกติ
ชื่อสามัญ Pineapple disease สาเหตุ เชื้อรา Ceratocystis paradoxa อาการ : เป็นโรคที่เกิดกับท่อนพันธุ์ ทำให้ท่อนพันธุ์มีความงอกต่ำ หน่ออ้อยไม่เจริญเติบโต ผ่าลำดู จะเป็นสีแดงเข้มสลับดำมีกลิ่นเหม็นคล้ายสับปะรด วิธีการแพร่ระบาด : เชื้อราในดินจะเข้าทำลายทางตามรอยแผล และด้านตัดของท่อนพันธุ์ ต้นอ้อยแก่
ชื่อสามัญ Pineapple disease สาเหตุ เชื้อรา Ceratocystis paradoxa อาการ : เป็นโรคที่เกิดกับท่อนพันธุ์ ทำให้ท่อนพันธุ์มีความงอกต่ำ หน่ออ้อยไม่เจริญเติบโต ผ่าลำดู จะเป็นสีแดงเข้มสลับดำมีกลิ่นเหม็นคล้ายสับปะรด วิธีการแพร่ระบาด : เชื้อราในดินจะเข้าทำลายทางตามรอยแผล และด้านตัดของท่อนพันธุ์ ต้นอ้อยแก่
อ้อยแตกใบเป็นฝอยคล้ายตะไคร้ ใบอาจมีสีเขียวปกติหรือสีซีด ใบเล็กมากถ้าเป็นอ้อยปลูก จะให้ลำเล็กกว่าปกติและจำนวนลำในแต่ละกอน้อย ถ้าเป็นอ้อยตอ จะไม่ได้ลำเลย อาจรุนแรงจนต้องไถทิ้ง
อ้อยแตกใบเป็นฝอยคล้ายตะไคร้ ใบอาจมีสีเขียวปกติหรือสีซีด ใบเล็กมากถ้าเป็นอ้อยปลูก จะให้ลำเล็กกว่าปกติและจำนวนลำในแต่ละกอน้อย ถ้าเป็นอ้อยตอ จะไม่ได้ลำเลย อาจรุนแรงจนต้องไถทิ้ง