Tag

สยามคูโบต้า

เลือกตามประเภทเนื้อหา
เตรียมส่วนผสม ขั้นตอนที่ 1: ราบิวเวอเรีย 1 ก้อน ผสมกับกับน้ำ 2 ลิตร และน้ำยาล้างจาน 2 ช้อนชา (10 มิลลิลิตร) ขั้นตอนที่ 2 : ขยี้ให้สปอร์หลุดจากเมล็ดข้าว แล้วกรองผ่านผ้าขาวบาง เทใส่ลงในส่วนผสมในขั้นตอนที่ 1 จะได้สารละลายสีขาวขุ่น ขั้นตอนที่ 3 : เติมน้ำใส่ลงในส่วนผสมให้ครบ 20 ลิตร ขั้นตอนที่ 4
เตรียมส่วนผสม ขั้นตอนที่ 1: ราบิวเวอเรีย 1 ก้อน ผสมกับกับน้ำ 2 ลิตร และน้ำยาล้างจาน 2 ช้อนชา (10 มิลลิลิตร) ขั้นตอนที่ 2 : ขยี้ให้สปอร์หลุดจากเมล็ดข้าว แล้วกรองผ่านผ้าขาวบาง เทใส่ลงในส่วนผสมในขั้นตอนที่ 1 จะได้สารละลายสีขาวขุ่น ขั้นตอนที่ 3 : เติมน้ำใส่ลงในส่วนผสมให้ครบ 20 ลิตร ขั้นตอนที่ 4
แตนเบียน (Anagyrus lopezi) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแถบอเมริกาใต้ ทำหน้าที่เป็นทั้งตัวห้ำและตัวเบียน สามารถฆ่า (การห้ำ) เพลี้ยแป้งสีชมพูให้ตายได้ทันที เฉลี่ยวันละ 20-30 ตัว และวางไข่ (การเบียน) ในตัวเพลี้ยแป้งสีชมพู เฉลี่ยวันละ 15-20 ตัว แตนเบียนหนึ่งตัวสามารถฆ่าเพลี้ยแป้งสีชมพูได้เฉลี่ยวันละ 35-50 ตัว
แตนเบียน (Anagyrus lopezi) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแถบอเมริกาใต้ ทำหน้าที่เป็นทั้งตัวห้ำและตัวเบียน สามารถฆ่า (การห้ำ) เพลี้ยแป้งสีชมพูให้ตายได้ทันที เฉลี่ยวันละ 20-30 ตัว และวางไข่ (การเบียน) ในตัวเพลี้ยแป้งสีชมพู เฉลี่ยวันละ 15-20 ตัว แตนเบียนหนึ่งตัวสามารถฆ่าเพลี้ยแป้งสีชมพูได้เฉลี่ยวันละ 35-50 ตัว
ด้วงเต่าตัวห้ำ เป็นแมลงห้ำทั้งในระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย สามารถทําลายศัตรูพืชได้หลายชนิด ได้แก่ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยหอย เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยอ่อน ไข่ของผีเสื้อ หนอนขนาดเล็ก และแมลงหวี่ขาว เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถกินไรศัตรูพืช และบางชนิดกินเชื้อราเป็นอาหาร ด้วงเต่าทั่วไปมีปากแบบ ปากกัด ตัวเต
ด้วงเต่าตัวห้ำ เป็นแมลงห้ำทั้งในระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย สามารถทําลายศัตรูพืชได้หลายชนิด ได้แก่ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยหอย เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยอ่อน ไข่ของผีเสื้อ หนอนขนาดเล็ก และแมลงหวี่ขาว เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถกินไรศัตรูพืช และบางชนิดกินเชื้อราเป็นอาหาร ด้วงเต่าทั่วไปมีปากแบบ ปากกัด ตัวเต
ชื่อทั่วไป : แมลงช้างปีกใส (Green lacewing) วงศ์ (Family) : Chrysopidae อันดับ (Order) : Neuroptera เป็นแมลงห้ำที่มีบทบาทในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยตัวอ่อนของแมลงช้างปีกใส เป็นตัวห้ำที่กินศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่นเพลี้ยอ่อย เพลี้ยแป้ง ตัวอ่อนเพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่
ชื่อทั่วไป : แมลงช้างปีกใส (Green lacewing) วงศ์ (Family) : Chrysopidae อันดับ (Order) : Neuroptera เป็นแมลงห้ำที่มีบทบาทในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยตัวอ่อนของแมลงช้างปีกใส เป็นตัวห้ำที่กินศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่นเพลี้ยอ่อย เพลี้ยแป้ง ตัวอ่อนเพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง (Cassava Bacterial Blight : CBB) เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง (Cassava Bacterial Blight : CBB) เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518
เกิดจากเชื้อรา Cercosporidium ingsii พบครั้งแรกในประเทศซาเนีย สำหรับในประเทศไทยพบว่ามันสำปะหลังเกือบทุกสายพันธุ์เป็นโรคใบจุดสีน้ำตาล ความรุนแรงขึ้นอยู่กับอายุพืชและสภาพแวดล้อม และสามารถพบโรคในแหล่งที่มีความชื้นต่ำและแห้งแล้งได้
เกิดจากเชื้อรา Cercosporidium ingsii พบครั้งแรกในประเทศซาเนีย สำหรับในประเทศไทยพบว่ามันสำปะหลังเกือบทุกสายพันธุ์เป็นโรคใบจุดสีน้ำตาล ความรุนแรงขึ้นอยู่กับอายุพืชและสภาพแวดล้อม และสามารถพบโรคในแหล่งที่มีความชื้นต่ำและแห้งแล้งได้
เกิดจากเชื้อรา Phoeoramularia manihotis (Cercospora caribaea) พบได้ทั้งในทวีป เอเชีย อเมริกาเหนือ อัฟริกา และลาตินอเมริกา สามารถพบได้ในเขตปลูกมันสำปะหลังที่ชื้นและเย็น
เกิดจากเชื้อรา Phoeoramularia manihotis (Cercospora caribaea) พบได้ทั้งในทวีป เอเชีย อเมริกาเหนือ อัฟริกา และลาตินอเมริกา สามารถพบได้ในเขตปลูกมันสำปะหลังที่ชื้นและเย็น
เกิดจากเชื้อรา มักจะพบควบคู่ใบไปกับโรคใบจุดสีน้ำตาล โรคนี้สามารถทำให้ผลผลิตลดลงได้ 12-30 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากการสูญเสียพื้นที่ใบใบเหลือง และร่วงเร็วกว่าปกติ และอาจเป็นผลกระทบเนื่องมาจากการเปิดโอกาสให้วัชพืชเจริญได้ดีเมื่อใบร่วง และพุ่มใบเปิด ลักษณะอาการ อาการของโรคพบบนใบ เป็นจุดกว้างไม่มีขอบเขต
เกิดจากเชื้อรา มักจะพบควบคู่ใบไปกับโรคใบจุดสีน้ำตาล โรคนี้สามารถทำให้ผลผลิตลดลงได้ 12-30 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากการสูญเสียพื้นที่ใบใบเหลือง และร่วงเร็วกว่าปกติ และอาจเป็นผลกระทบเนื่องมาจากการเปิดโอกาสให้วัชพืชเจริญได้ดีเมื่อใบร่วง และพุ่มใบเปิด ลักษณะอาการ อาการของโรคพบบนใบ เป็นจุดกว้างไม่มีขอบเขต
โรครากและหัวเน่าเป็นโรคที่มีความสำคัญมาก ทำให้ผลผลิตสูญเสียโดยตรง โดยเฉพาะในแหล่งที่ดินระบายน้ำได้ยาก ฝนตกชุกเกินไปหรือในพื้นที่ที่เคยปลูกกาแฟ ยาง หรือเป็นป่าไม้มาแล้ว ในบางครั้งสามารถพบได้ในแหล่งที่ดินมีการชะล้างสูง โรคนี้สามารถเกิดได้ทั้งระยะต้นกล้า และระยะที่ลงหัวแล้ว โรครากและหัวเน่าเกิดจากเชื้อ
โรครากและหัวเน่าเป็นโรคที่มีความสำคัญมาก ทำให้ผลผลิตสูญเสียโดยตรง โดยเฉพาะในแหล่งที่ดินระบายน้ำได้ยาก ฝนตกชุกเกินไปหรือในพื้นที่ที่เคยปลูกกาแฟ ยาง หรือเป็นป่าไม้มาแล้ว ในบางครั้งสามารถพบได้ในแหล่งที่ดินมีการชะล้างสูง โรคนี้สามารถเกิดได้ทั้งระยะต้นกล้า และระยะที่ลงหัวแล้ว โรครากและหัวเน่าเกิดจากเชื้อ
ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช มีอยู่ 16 ธาตุ แต่มีเพียง 7 ธาตุ เท่านั้นที่พืชต้องการใช้ในปริมาณน้อยมาก และเราเรียกธาตุเหล่านี้ว่า จุลธาตุ (Micronutrient) ได้แก่ เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) สังกะสี (Zn) ทองแดง (Cu) โบรอน (B) โมลิดินัม (Mo) คลอรีน (Cl) แม้ว่าพืชต้องการธาตุเหล่านี้น้อย แต่ก็มี
ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช มีอยู่ 16 ธาตุ แต่มีเพียง 7 ธาตุ เท่านั้นที่พืชต้องการใช้ในปริมาณน้อยมาก และเราเรียกธาตุเหล่านี้ว่า จุลธาตุ (Micronutrient) ได้แก่ เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) สังกะสี (Zn) ทองแดง (Cu) โบรอน (B) โมลิดินัม (Mo) คลอรีน (Cl) แม้ว่าพืชต้องการธาตุเหล่านี้น้อย แต่ก็มี