Tag

สยามคูโบต้า

เลือกตามประเภทเนื้อหา
ชื่ออื่น : หนอนเจาะสมอฝ้าย American cotton bollworm ชื่อวิทยาศาสตร์ : Heliothis armigera (Hübner) วงศ์ : Noctuidae อันดับ : Lepidoptera หนอนเจาะฝักข้าวโพด : เป็นศัตรูที่ทำให้ข้าวโพดเกิดความเสียหาย โดยเฉพาะข้าวโพดหวาน ซึ่งมีความอ่อนแอต่อแมลงศัตรูพืช การทำลายจะกัดกินไหมข้าวโพดและเจาะทำลายที่ปลายฝัก
ชื่ออื่น : หนอนเจาะสมอฝ้าย American cotton bollworm ชื่อวิทยาศาสตร์ : Heliothis armigera (Hübner) วงศ์ : Noctuidae อันดับ : Lepidoptera หนอนเจาะฝักข้าวโพด : เป็นศัตรูที่ทำให้ข้าวโพดเกิดความเสียหาย โดยเฉพาะข้าวโพดหวาน ซึ่งมีความอ่อนแอต่อแมลงศัตรูพืช การทำลายจะกัดกินไหมข้าวโพดและเจาะทำลายที่ปลายฝัก
หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเป็นศัตรูสำคัญของข้าวโพด นอกจากนี้ยังมีพืชอาหารมากกว่า 80 ชนิด เช่น ข้าว อ้อย ข้าวฟ่าง พืชตระกูลถั่ว มะเขือเทศ มันฝรั่ง ยาสูบ ฝ้าย ทานตะวัน กล้วย กระเทียม ขิง มันเทศ พริก พืชตระกูลกะหล่ำ พืชตระกูลแตง และพืชผัก เป็นต้นวงจรชีวิตหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ใช้เวลา 30-40 วัน
หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเป็นศัตรูสำคัญของข้าวโพด นอกจากนี้ยังมีพืชอาหารมากกว่า 80 ชนิด เช่น ข้าว อ้อย ข้าวฟ่าง พืชตระกูลถั่ว มะเขือเทศ มันฝรั่ง ยาสูบ ฝ้าย ทานตะวัน กล้วย กระเทียม ขิง มันเทศ พริก พืชตระกูลกะหล่ำ พืชตระกูลแตง และพืชผัก เป็นต้นวงจรชีวิตหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ใช้เวลา 30-40 วัน
เพลี้ยกระโดดท้องขาว หรือเพลี้ยกระโดดข้าวโพด (White-Bellied Planthopper, Corn Planthopper) โดยเพลี้ยกระโดดท้องขาวจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อนและกาบใบ ทำให้ต้นข้าวโพดชะงักการเจริญเติบโต หากระบาดรุนแรงทำให้เกิดอาการใบไหม้ นอกจากนี้ยังขับถ่ายมูลหวาน ลงบนต้นพืชเป็นสาเหตุทำให้เกิดราดำ รูปร่างลักษณะ : ตัวเต็
เพลี้ยกระโดดท้องขาว หรือเพลี้ยกระโดดข้าวโพด (White-Bellied Planthopper, Corn Planthopper) โดยเพลี้ยกระโดดท้องขาวจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อนและกาบใบ ทำให้ต้นข้าวโพดชะงักการเจริญเติบโต หากระบาดรุนแรงทำให้เกิดอาการใบไหม้ นอกจากนี้ยังขับถ่ายมูลหวาน ลงบนต้นพืชเป็นสาเหตุทำให้เกิดราดำ รูปร่างลักษณะ : ตัวเต็
โรคใบไหม้แผลใหญ่ (Northern Corn Leaf Blight) เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Exserohilum turcicum อาการ : อาการเริ่มแรกพบแผลขนาดเล็กสีคล้ายฟางข้าวบนใบข้าวโพด ต่อมาแผลจะขยายมีขนาดใหญ่สีเทาหรือสีน้ำตาลอ่อนยาวตามใบข้าวโพดหัวท้ายเรียวคล้ายรูปกระสวย เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสม จะพบอาการแผลบนใบข้าวโพดหลายแผลต
โรคใบไหม้แผลใหญ่ (Northern Corn Leaf Blight) เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Exserohilum turcicum อาการ : อาการเริ่มแรกพบแผลขนาดเล็กสีคล้ายฟางข้าวบนใบข้าวโพด ต่อมาแผลจะขยายมีขนาดใหญ่สีเทาหรือสีน้ำตาลอ่อนยาวตามใบข้าวโพดหัวท้ายเรียวคล้ายรูปกระสวย เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสม จะพบอาการแผลบนใบข้าวโพดหลายแผลต
แอลฟาทอกซินในข้าวโพด เชื้อสาเหตุ: เกิดจากเชื้อรา Aspergillus flavus ลักษณะอาการ: เชื้อรา Aspergillus flavus จะสร้างกลุ่มของสปอร์สีเหลืองปนเขียว ซึ่งเห็นความแตกต่างได้จากโรคจากเชื้อราอื่น ๆ เมื่อทำการเก็บเกี่ยว การแพร่ระบาด: เชื้อราตัวนี้สามารถเจริญบนไหมของฝักข้าวโพดและเจริญเข้าไป
แอลฟาทอกซินในข้าวโพด เชื้อสาเหตุ: เกิดจากเชื้อรา Aspergillus flavus ลักษณะอาการ: เชื้อรา Aspergillus flavus จะสร้างกลุ่มของสปอร์สีเหลืองปนเขียว ซึ่งเห็นความแตกต่างได้จากโรคจากเชื้อราอื่น ๆ เมื่อทำการเก็บเกี่ยว การแพร่ระบาด: เชื้อราตัวนี้สามารถเจริญบนไหมของฝักข้าวโพดและเจริญเข้าไป
โรคใบจุดจากเชื้อเฮลมินโธสปอเรี่ยม (Northern Leaf Spot หรือ Helminthosporium Leaf Spot) ลักษณะอาการ พบอาการตั้งแต่ใบแรกจนถึงใบธง แผลเป็นจุดค่อนข้างกลมสีเหลือง หรือน้ำตาลขนาดเล็ก มีวงแหวนสีเหลืองล้อมรอบ ขนาดความกว้างยาวของแผลอยู่ระหว่าง 0.5 – 4.0 x 0.5 – 40.0 มม. เมื่อความชื้นสูงแผลขยายใหญ่
โรคใบจุดจากเชื้อเฮลมินโธสปอเรี่ยม (Northern Leaf Spot หรือ Helminthosporium Leaf Spot) ลักษณะอาการ พบอาการตั้งแต่ใบแรกจนถึงใบธง แผลเป็นจุดค่อนข้างกลมสีเหลือง หรือน้ำตาลขนาดเล็ก มีวงแหวนสีเหลืองล้อมรอบ ขนาดความกว้างยาวของแผลอยู่ระหว่าง 0.5 – 4.0 x 0.5 – 40.0 มม. เมื่อความชื้นสูงแผลขยายใหญ่
โรคใบไหม้แผลเล็ก (Southern Corn Maydis Leaf Blight) การระบาดของโรคนี้ในประเทศไทยมีเสมอทุกปีและระบาดเพิ่มมากขึ้นในหลายพื้นที่จนถึงปัจจุบัน โดยมีความรุนแรงกับข้าวโพดสายพันธุ์แท้ (Inbred line) บางสายพันธุ์ ข้าวโพดหวานข้าวโพดเทียน ข้าวโพดข้าวเหนียว เป็นต้น ลักษณะอาการ ระยะแรกจะเกิดจุดเล็ก ๆ สีเขียวอ่อน
โรคใบไหม้แผลเล็ก (Southern Corn Maydis Leaf Blight) การระบาดของโรคนี้ในประเทศไทยมีเสมอทุกปีและระบาดเพิ่มมากขึ้นในหลายพื้นที่จนถึงปัจจุบัน โดยมีความรุนแรงกับข้าวโพดสายพันธุ์แท้ (Inbred line) บางสายพันธุ์ ข้าวโพดหวานข้าวโพดเทียน ข้าวโพดข้าวเหนียว เป็นต้น ลักษณะอาการ ระยะแรกจะเกิดจุดเล็ก ๆ สีเขียวอ่อน
ประวัติ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์นครสวรรค์ 2 เดิมชื่อรหัส เอ็น เอส เอ็กซ์ 022031 เป็นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมเดี่ยว อายุยาว สามารถเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 110-115 วัน เกิดจากการผสมข้ามระหว่างข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สายพันธุ์แท้พันธุ์ตากฟ้า 1 (พันธุ์แม่) และสายพันธุ์แท้พันธุ์ตากฟ้า 2 (พันธุ์พ่อ) ซึ่งสร้าง
ประวัติ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์นครสวรรค์ 2 เดิมชื่อรหัส เอ็น เอส เอ็กซ์ 022031 เป็นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมเดี่ยว อายุยาว สามารถเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 110-115 วัน เกิดจากการผสมข้ามระหว่างข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สายพันธุ์แท้พันธุ์ตากฟ้า 1 (พันธุ์แม่) และสายพันธุ์แท้พันธุ์ตากฟ้า 2 (พันธุ์พ่อ) ซึ่งสร้าง
ประวัติ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์นครสวรรค์ 3 เดิมชื่อรหัส เอ็น เอส เอ็กซ์ 042029 เป็นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมเดี่ยว เกิดจากการผสมข้ามระหว่างสายพันธุ์แท้พันธุ์ตากฟ้า 1 (พันธุ์แม่) และสายพันธุ์แท้ตากฟ้า 3 (พันธุ์พ่อ) ซึ่งสร้างและพัฒนาโดยศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์และดำเนินการประเมินผลผลิตตามขั้นตอน
ประวัติ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์นครสวรรค์ 3 เดิมชื่อรหัส เอ็น เอส เอ็กซ์ 042029 เป็นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมเดี่ยว เกิดจากการผสมข้ามระหว่างสายพันธุ์แท้พันธุ์ตากฟ้า 1 (พันธุ์แม่) และสายพันธุ์แท้ตากฟ้า 3 (พันธุ์พ่อ) ซึ่งสร้างและพัฒนาโดยศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์และดำเนินการประเมินผลผลิตตามขั้นตอน
ประวัติ ข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์ชัยนาท 2 ดำเนินการปรับปรุงพันธุ์ในระหว่างปี พ.ศ.2549-2556 ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท เพื่อให้ได้ข้าวโพดหวานลูกผสมที่มีผลผลิตสูง คุณภาพการบริโภคดี และต้านทานต่อโรคใบไหม้แผลใหญ่ เกิดจากการผสมระหว่างสายพันธุ์แท้เบอร์ 75 กับสายพันธุ์แท้เบอร์ 66 ผ่านการประเมินผลผลิตพันธุ์ลูก
ประวัติ ข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์ชัยนาท 2 ดำเนินการปรับปรุงพันธุ์ในระหว่างปี พ.ศ.2549-2556 ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท เพื่อให้ได้ข้าวโพดหวานลูกผสมที่มีผลผลิตสูง คุณภาพการบริโภคดี และต้านทานต่อโรคใบไหม้แผลใหญ่ เกิดจากการผสมระหว่างสายพันธุ์แท้เบอร์ 75 กับสายพันธุ์แท้เบอร์ 66 ผ่านการประเมินผลผลิตพันธุ์ลูก