Tag

สยามคูโบต้า

เลือกตามประเภทเนื้อหา
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zea mays var. rugosa ชื่อสามัญ : Sweet corn วงศ์ : Poaceae ข้าวโพด เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ปลูกฤดูเดียว ลักษณะลำต้นเป็นปล้องสีเขียวจำนวน 8 – 20 ปล้อง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 – 4 ซม. สูงประมาณ 150 – 220 ซม. ใบมีสีเขียวลักษณะเรียว ขนาดของใบแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zea mays var. rugosa ชื่อสามัญ : Sweet corn วงศ์ : Poaceae ข้าวโพด เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ปลูกฤดูเดียว ลักษณะลำต้นเป็นปล้องสีเขียวจำนวน 8 – 20 ปล้อง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 – 4 ซม. สูงประมาณ 150 – 220 ซม. ใบมีสีเขียวลักษณะเรียว ขนาดของใบแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น สนับสนุน โครงการบริหารจัดการเชื้อพันธุกรรมข้าวโพด โดยดำเนินการภายใต้ศูนย์วิจัยปรับปรุงพันธ์พืชเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืน ซึ่งม รศ.ดร.กมล เลิศรัตน์ เป็นผู้อำนวยการศูนย์ฯ ได้เก็บ รวบรวมเชื้อพันธุกรรมข้าวโพด เน้นกลุ่มข้าวโพดฝัก
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น สนับสนุน โครงการบริหารจัดการเชื้อพันธุกรรมข้าวโพด โดยดำเนินการภายใต้ศูนย์วิจัยปรับปรุงพันธ์พืชเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืน ซึ่งม รศ.ดร.กมล เลิศรัตน์ เป็นผู้อำนวยการศูนย์ฯ ได้เก็บ รวบรวมเชื้อพันธุกรรมข้าวโพด เน้นกลุ่มข้าวโพดฝัก
การเลือกพื้นที่ ควรเลือกพื้นที่ ที่มีแหล่งน้ำเพียงพอตลอดฤดูปลูก หลีกเลี่ยงพื้นที่ลุ่มต่ำที่มีการระบายน้ำไม่ดี ฤดูปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังนา เดือนที่เหมาะสมสำหรับปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์คือเดือน พฤศจิกายน-ธันวาคม หรือปลูกทันทีหลังจากเก็บเกี่ยวข้าว เพื่อใช้ประโยชน์จากความชื้นที่เหลืออยู่ในดิน
การเลือกพื้นที่ ควรเลือกพื้นที่ ที่มีแหล่งน้ำเพียงพอตลอดฤดูปลูก หลีกเลี่ยงพื้นที่ลุ่มต่ำที่มีการระบายน้ำไม่ดี ฤดูปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังนา เดือนที่เหมาะสมสำหรับปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์คือเดือน พฤศจิกายน-ธันวาคม หรือปลูกทันทีหลังจากเก็บเกี่ยวข้าว เพื่อใช้ประโยชน์จากความชื้นที่เหลืออยู่ในดิน
ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวร้อยละ 50 ของพื้นที่ทำการเกษตร ทำรายได้ปีละประมาณ 2 แสนล้านบาท อย่างไรก็ตามเกษตรกรในเขตพื้นที่ชลประทานนิยมปลูกข้าวมากกว่า 2 ครั้งต่อปี หรือปลูกข้าวอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันเกิดวิกฤติการขาดแคลนน้ำอย่างรุนแรงในการปลูกข้าว อีกทั้งการปลูกข้าวอย่างต่อเนื่องกระทบต่อระบบนิเวศน์
ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวร้อยละ 50 ของพื้นที่ทำการเกษตร ทำรายได้ปีละประมาณ 2 แสนล้านบาท อย่างไรก็ตามเกษตรกรในเขตพื้นที่ชลประทานนิยมปลูกข้าวมากกว่า 2 ครั้งต่อปี หรือปลูกข้าวอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันเกิดวิกฤติการขาดแคลนน้ำอย่างรุนแรงในการปลูกข้าว อีกทั้งการปลูกข้าวอย่างต่อเนื่องกระทบต่อระบบนิเวศน์
ถั่วเขียวเป็นพืชตระกูลถั่วที่ให้ประโยชน์ทั้งเป็นพืชบำรุงดินและขายเป็นรายได้สำหรับเกษตรกร ต้นฤดูฝนช่วงแรกก่อนที่จะปักดำข้าวสามารถปลูกถั่วเขียว เก็บเกี่ยวผลผลิตและไถกลบเป็นปุ๋ยพืชสดได้ 1. การเลือกพื้นที่ปลูก เกษตรกรที่มีการทำนาโดยวิธีปักดำข้าวสามารถปลูกถั่วเขียวได้ทุกพื้นที่ ถ้าเป็นพื้นที่นา
ถั่วเขียวเป็นพืชตระกูลถั่วที่ให้ประโยชน์ทั้งเป็นพืชบำรุงดินและขายเป็นรายได้สำหรับเกษตรกร ต้นฤดูฝนช่วงแรกก่อนที่จะปักดำข้าวสามารถปลูกถั่วเขียว เก็บเกี่ยวผลผลิตและไถกลบเป็นปุ๋ยพืชสดได้ 1. การเลือกพื้นที่ปลูก เกษตรกรที่มีการทำนาโดยวิธีปักดำข้าวสามารถปลูกถั่วเขียวได้ทุกพื้นที่ ถ้าเป็นพื้นที่นา
ปุ๋ยจุลินทรีย์ที่ได้จากการปลูกพืชเพื่อใช้เป็นปุ๋ยพืชสด มีทั้งพืชอายุสั้น เช่น พืชตระกลูถั่วต่างๆ ตลอดจนพืชอายุข้ามปี รวมทั้งพืชขนาดเล็ก
ปุ๋ยจุลินทรีย์ที่ได้จากการปลูกพืชเพื่อใช้เป็นปุ๋ยพืชสด มีทั้งพืชอายุสั้น เช่น พืชตระกลูถั่วต่างๆ ตลอดจนพืชอายุข้ามปี รวมทั้งพืชขนาดเล็ก
ปอเทือง เป็นพืชตระกูลถั่ว ลักษณะเป็นไม้พุ่มความสูง 100–300 เซนติเมตร ลำต้นกลม ใบยาวเรียวแหลม ดอกสีเหลือง ฝักเป็นรูปทรงกระบอก เมล็ดคล้ายรูปไตสีน้ำตาล ความยาว ประมาณ 6 มิลลิเมตร มี 10 -20 เมล็ด/ฝัก ปอเทืองเป็นพืชที่ต้นทุนในการปลูกต่ำและทนแล้ง โดยนอกจากเก็บเมล็ดพันธุ์ขายแล้วยังสามารถไถกลบเป็นปุ๋ยพืชสด
ปอเทือง เป็นพืชตระกูลถั่ว ลักษณะเป็นไม้พุ่มความสูง 100–300 เซนติเมตร ลำต้นกลม ใบยาวเรียวแหลม ดอกสีเหลือง ฝักเป็นรูปทรงกระบอก เมล็ดคล้ายรูปไตสีน้ำตาล ความยาว ประมาณ 6 มิลลิเมตร มี 10 -20 เมล็ด/ฝัก ปอเทืองเป็นพืชที่ต้นทุนในการปลูกต่ำและทนแล้ง โดยนอกจากเก็บเมล็ดพันธุ์ขายแล้วยังสามารถไถกลบเป็นปุ๋ยพืชสด
1. วิธีการปลูกสามารถทำได้หลายวิธีดังนี้ ปลูกแบบโรยเป็นแถวระยะระหว่างแถวขึ้นกับชนิดของพืช – โสนอัฟริกัน ปอเทือง มะแฮะ พืชตระกูลถั่วคลุมดิน เช่น ถั่วลาย ถั่วคุดซู ถั่วสไตโล ถั่วฮามาต้า ระยะระหว่างแถว 100 เซนติเมตร – ถั่วพร้า ถั่วเขียว ถั่วพุ่ม ระยะระหว่างแถว 50 เซนติเมตร หยอดเป็นหลุม
1. วิธีการปลูกสามารถทำได้หลายวิธีดังนี้ ปลูกแบบโรยเป็นแถวระยะระหว่างแถวขึ้นกับชนิดของพืช – โสนอัฟริกัน ปอเทือง มะแฮะ พืชตระกูลถั่วคลุมดิน เช่น ถั่วลาย ถั่วคุดซู ถั่วสไตโล ถั่วฮามาต้า ระยะระหว่างแถว 100 เซนติเมตร – ถั่วพร้า ถั่วเขียว ถั่วพุ่ม ระยะระหว่างแถว 50 เซนติเมตร หยอดเป็นหลุม
ถั่วเขียว เป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นพืชอายุสั้น เก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 65-70 วัน ใช้น้ำน้อยทนแล้ง นิยมใช้ในระบบปลูกพืช การปลูกถั่วเขียวในระบบปลูกพืช มีประโยชน์หลายอย่าง ได้แก่ ตัดวงจรการระบาดของศัตรูพืชในนาข้าว เป็นปุ๋ยพืชสด ช่วยเพิ่มธาตุอาหาร เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
ถั่วเขียว เป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นพืชอายุสั้น เก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 65-70 วัน ใช้น้ำน้อยทนแล้ง นิยมใช้ในระบบปลูกพืช การปลูกถั่วเขียวในระบบปลูกพืช มีประโยชน์หลายอย่าง ได้แก่ ตัดวงจรการระบาดของศัตรูพืชในนาข้าว เป็นปุ๋ยพืชสด ช่วยเพิ่มธาตุอาหาร เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
ถั่วลิสงเป็นพืชตระกูลถั่วที่ให้ประโยชน์ทั้งเป็นพืชบำรุงดิน และขายเป็นรายได้สำหรับเกษตรกร นำมาปลูกหลังเก็บเกี่ยวข้าวได้ทั้งในพื้นที่อาศัยน้ำชลประทานและไม่อาศัยน้ำชลประทาน แต่การปลูกถั่วลิสงหลังเก็บเกี่ยวข้าวโดยไม่อาศัยน้ำชลประทานสามารถทำได้ในบางพื้นที่เท่านั้น 1. การเลือกพื้นที่ปลูก พื้นที่ทำนา
ถั่วลิสงเป็นพืชตระกูลถั่วที่ให้ประโยชน์ทั้งเป็นพืชบำรุงดิน และขายเป็นรายได้สำหรับเกษตรกร นำมาปลูกหลังเก็บเกี่ยวข้าวได้ทั้งในพื้นที่อาศัยน้ำชลประทานและไม่อาศัยน้ำชลประทาน แต่การปลูกถั่วลิสงหลังเก็บเกี่ยวข้าวโดยไม่อาศัยน้ำชลประทานสามารถทำได้ในบางพื้นที่เท่านั้น 1. การเลือกพื้นที่ปลูก พื้นที่ทำนา