Tag

พืช

เลือกตามประเภทเนื้อหา
ชนิด : ข้าวเจ้า คู่ผสม : ได้จากการผสมพันธุ์ ระหว่างสายพันธุ์ BKNA6-18-3-2 กับสายพันธุ์ PTT85061-86-3-2-1 ที่ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี ในปี พ.ศ. 2533 ปลูกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์ PTT90071-93-8-1-1 การรับรองพันธุ์
ชนิด : ข้าวเจ้า คู่ผสม : ได้จากการผสมพันธุ์ ระหว่างสายพันธุ์ BKNA6-18-3-2 กับสายพันธุ์ PTT85061-86-3-2-1 ที่ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี ในปี พ.ศ. 2533 ปลูกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์ PTT90071-93-8-1-1 การรับรองพันธุ์
การแบ่งพันธุ์ข้าวตามการตอบสนองต่อช่วงแสง พันธุ์ข้าวไวต่อแสง (Photoperiod Sensitive Varieties) เป็นพันธุ์ข้าวที่ต้องการช่วงแสง หรือช่วงเวลากลางวันสั้นเพื่อเปลี่ยนการเจริญเติบโตของลำต้นและใบมาเป็นการเจริญทางการสืบพันธุ์เพื่อสร้างช่อดอกและเมล็ด โดยข้าวจะสร้างช่อดอกเมื่อช่วงแสงสั้น
การแบ่งพันธุ์ข้าวตามการตอบสนองต่อช่วงแสง พันธุ์ข้าวไวต่อแสง (Photoperiod Sensitive Varieties) เป็นพันธุ์ข้าวที่ต้องการช่วงแสง หรือช่วงเวลากลางวันสั้นเพื่อเปลี่ยนการเจริญเติบโตของลำต้นและใบมาเป็นการเจริญทางการสืบพันธุ์เพื่อสร้างช่อดอกและเมล็ด โดยข้าวจะสร้างช่อดอกเมื่อช่วงแสงสั้น
ข้าวพันธุ์ กข 79 ได้รับรองพันธุ์เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562 และอยู่ระหว่างการขยายพันธุ์เพื่อให้ได้จำนวนเมล็ดพันธุ์ข้าว รองรับพื้นที่เพาะปลูกจำนวน 500,000 ไร่ ในปี 2563 กรมการข้าวจึงปรับแผนที่จะนำเมล็ดพันธุ์ กข79 จำนวนหนึ่งมาใช้ในโครงการนำร่องการผลิตและตลาดข้าวนุ่มครบวงจรในพื้นที่เขตชลประทาน
ข้าวพันธุ์ กข 79 ได้รับรองพันธุ์เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562 และอยู่ระหว่างการขยายพันธุ์เพื่อให้ได้จำนวนเมล็ดพันธุ์ข้าว รองรับพื้นที่เพาะปลูกจำนวน 500,000 ไร่ ในปี 2563 กรมการข้าวจึงปรับแผนที่จะนำเมล็ดพันธุ์ กข79 จำนวนหนึ่งมาใช้ในโครงการนำร่องการผลิตและตลาดข้าวนุ่มครบวงจรในพื้นที่เขตชลประทาน
ชนิด : ข้าวเหนียว ประวัติพันธุ์ :ปรับปรุงพันธุ์ โดยการใช้รังสีชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ โดยใช้รังสีแกมมาปริมาณ 20 กิโลเรด อาบเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 แล้วนำมาปลูกคัดเลือกที่สถานีทดลองข้าวบางเขนและสถานีทดลองข้าวพิมาย จากการคัดเลือกได้ข้าวเหนียวหลายสายพันธุ์ในข้าวชั่วที่ 2 นำไปปลูกคัดเลือกจนอยู่ต
ชนิด : ข้าวเหนียว ประวัติพันธุ์ :ปรับปรุงพันธุ์ โดยการใช้รังสีชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ โดยใช้รังสีแกมมาปริมาณ 20 กิโลเรด อาบเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 แล้วนำมาปลูกคัดเลือกที่สถานีทดลองข้าวบางเขนและสถานีทดลองข้าวพิมาย จากการคัดเลือกได้ข้าวเหนียวหลายสายพันธุ์ในข้าวชั่วที่ 2 นำไปปลูกคัดเลือกจนอยู่ต
มันมาอีกแล้ว” พื้นที่นาข้าวที่กำลังเขียวขจีในฤดูนาปลังปีนี้ เป็นทุ่งนาแห่งความ หวังของพี่น้องชาวนา หลังจากผ่านวิกฤติน้ำท่วมจากปลายปีที่แล้ว แต่การกลับมาของศัตรูตัวร้ายอันดับต้นๆ ของข้าว ทำให้เกษตรกรหลายคนถึงกับผวาแต่อยากบอกว่าเรามีทางป้องกันและแก้ไข ที่ไม่ยากเกินไปสำหรับเกษตรกรชาวนามืออาชีพ วิธีการ
มันมาอีกแล้ว” พื้นที่นาข้าวที่กำลังเขียวขจีในฤดูนาปลังปีนี้ เป็นทุ่งนาแห่งความ หวังของพี่น้องชาวนา หลังจากผ่านวิกฤติน้ำท่วมจากปลายปีที่แล้ว แต่การกลับมาของศัตรูตัวร้ายอันดับต้นๆ ของข้าว ทำให้เกษตรกรหลายคนถึงกับผวาแต่อยากบอกว่าเรามีทางป้องกันและแก้ไข ที่ไม่ยากเกินไปสำหรับเกษตรกรชาวนามืออาชีพ วิธีการ
“เริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง” เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับฤดูกาลของการทำนาปรัง จึงจะขอนำเสนอ กรรมวิธีการป้องกันกำจัดเชื้อรา ที่เป็นปัญหาสำคัญของการเพาะกล้า และการทำนาในปัจจุบัน เพราะถ้าหากเกิดการระบาดของเชื้อราในพื้นที่แล้วนั้นจะทำให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรง และแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว อีกทั้งโรคพืชในป
“เริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง” เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับฤดูกาลของการทำนาปรัง จึงจะขอนำเสนอ กรรมวิธีการป้องกันกำจัดเชื้อรา ที่เป็นปัญหาสำคัญของการเพาะกล้า และการทำนาในปัจจุบัน เพราะถ้าหากเกิดการระบาดของเชื้อราในพื้นที่แล้วนั้นจะทำให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรง และแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว อีกทั้งโรคพืชในป
พี่ธนะ มงคลชัย เกษตรกรอินทรีย์แห่งบ้านหนองตาเรือง ต.แม่ระกา อ.วังทอง จ.พิษณุโลก เป็นเกษตรกรชาวนาที่ทำนามาตั้งแต่สมัยปู่ย่าตายายแล้ว แต่ผลผลิตข้าวที่ได้กลับลดลงเรื่อยๆ ทั้งที่ตนเองก็เพิ่มปริมาณปุ๋ยเคมีขึ้นทุกปี เขาจึงศึกษาเพิ่มเติมเพื่อหาว่าจะทำอย่างไรให้ข้าวที่ตนปลูกได้ผลผลิตมากขึ้น และลดต้นทุนในการ
พี่ธนะ มงคลชัย เกษตรกรอินทรีย์แห่งบ้านหนองตาเรือง ต.แม่ระกา อ.วังทอง จ.พิษณุโลก เป็นเกษตรกรชาวนาที่ทำนามาตั้งแต่สมัยปู่ย่าตายายแล้ว แต่ผลผลิตข้าวที่ได้กลับลดลงเรื่อยๆ ทั้งที่ตนเองก็เพิ่มปริมาณปุ๋ยเคมีขึ้นทุกปี เขาจึงศึกษาเพิ่มเติมเพื่อหาว่าจะทำอย่างไรให้ข้าวที่ตนปลูกได้ผลผลิตมากขึ้น และลดต้นทุนในการ
ปัจจุบันเกษตรกรจำนวนมากเริ่มหันกลับมาลดต้นทุนทางการเกษตร โดยทำการหมักปุ๋ยอินทรีย์สำหรับใช้ในพื้นที่ของตนเอง แต่ปัญหาที่พบส่วนใหญ่คือจะต้องใช้แรงงานคนจำนวนมากในการกลับกองปุ๋ยทุกๆ 7 วัน ซึ่งเป็นวิธีที่ยุ่งยาก และเสียค่าใช้จ่ายมาก ทำให้ทาง ผศ.ธีระพงษ์ สว่างปัญญางกูร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้คิดค้นวิธีการทำ
ปัจจุบันเกษตรกรจำนวนมากเริ่มหันกลับมาลดต้นทุนทางการเกษตร โดยทำการหมักปุ๋ยอินทรีย์สำหรับใช้ในพื้นที่ของตนเอง แต่ปัญหาที่พบส่วนใหญ่คือจะต้องใช้แรงงานคนจำนวนมากในการกลับกองปุ๋ยทุกๆ 7 วัน ซึ่งเป็นวิธีที่ยุ่งยาก และเสียค่าใช้จ่ายมาก ทำให้ทาง ผศ.ธีระพงษ์ สว่างปัญญางกูร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้คิดค้นวิธีการทำ
ข้าวที่ดีที่สุดในโลกคือ ข้าวหอมมะลิ 105 ของไทยไม่มีใครกล้าปฏิเสธ แต่ผลผลิตที่เกษตรกรปลูกได้ส่วนใหญ่จะอยู่ที่ 350-450 กก./ไร่ เท่านั้น แต่มีกลุ่มเกษตรกรบ้านช้างมิ่ง จ.สกลนคร ปลูกข้าวหอมมะลิได้ผลผลิตถึง 700 กก./ไร่ และยังได้ราคาสูงกว่าราคากลางถึง 20% เขามีวิธีการอย่างไรเรามาดูกัน โดยการศึกษาครั้งนี้ผู
ข้าวที่ดีที่สุดในโลกคือ ข้าวหอมมะลิ 105 ของไทยไม่มีใครกล้าปฏิเสธ แต่ผลผลิตที่เกษตรกรปลูกได้ส่วนใหญ่จะอยู่ที่ 350-450 กก./ไร่ เท่านั้น แต่มีกลุ่มเกษตรกรบ้านช้างมิ่ง จ.สกลนคร ปลูกข้าวหอมมะลิได้ผลผลิตถึง 700 กก./ไร่ และยังได้ราคาสูงกว่าราคากลางถึง 20% เขามีวิธีการอย่างไรเรามาดูกัน โดยการศึกษาครั้งนี้ผู
แหนแดง (Azolla) เป็นเฟิร์นน้ำเล็กๆชนิดหนึ่ง เจริญเติบโตและลอยอยู่บนผิวน้ำในเขตร้อน และเขตอบอุ่น โดยจะดำรงชีวิตแบบพึ่งพาอาศัยกันกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินกลุ่มไซยาโนแบคทีเรียชื่อ Anabana azollae อาศัยอยู่ ที่สามารถตรึงก๊าซไนโตรเจนในอากาศ (symbiotic nitrogen fixing microorganisms) ให้ม
แหนแดง (Azolla) เป็นเฟิร์นน้ำเล็กๆชนิดหนึ่ง เจริญเติบโตและลอยอยู่บนผิวน้ำในเขตร้อน และเขตอบอุ่น โดยจะดำรงชีวิตแบบพึ่งพาอาศัยกันกับสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินกลุ่มไซยาโนแบคทีเรียชื่อ Anabana azollae อาศัยอยู่ ที่สามารถตรึงก๊าซไนโตรเจนในอากาศ (symbiotic nitrogen fixing microorganisms) ให้ม