Tag

ข้าวโพด

เลือกตามประเภทเนื้อหา
ประวัติ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์นครสวรรค์ 3 เดิมชื่อรหัส เอ็น เอส เอ็กซ์ 042029 เป็นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมเดี่ยว เกิดจากการผสมข้ามระหว่างสายพันธุ์แท้พันธุ์ตากฟ้า 1 (พันธุ์แม่) และสายพันธุ์แท้ตากฟ้า 3 (พันธุ์พ่อ) ซึ่งสร้างและพัฒนาโดยศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์และดำเนินการประเมินผลผลิตตามขั้นตอน
ประวัติ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์นครสวรรค์ 3 เดิมชื่อรหัส เอ็น เอส เอ็กซ์ 042029 เป็นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมเดี่ยว เกิดจากการผสมข้ามระหว่างสายพันธุ์แท้พันธุ์ตากฟ้า 1 (พันธุ์แม่) และสายพันธุ์แท้ตากฟ้า 3 (พันธุ์พ่อ) ซึ่งสร้างและพัฒนาโดยศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์และดำเนินการประเมินผลผลิตตามขั้นตอน
ประวัติ ข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์ชัยนาท 2 ดำเนินการปรับปรุงพันธุ์ในระหว่างปี พ.ศ.2549-2556 ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท เพื่อให้ได้ข้าวโพดหวานลูกผสมที่มีผลผลิตสูง คุณภาพการบริโภคดี และต้านทานต่อโรคใบไหม้แผลใหญ่ เกิดจากการผสมระหว่างสายพันธุ์แท้เบอร์ 75 กับสายพันธุ์แท้เบอร์ 66 ผ่านการประเมินผลผลิตพันธุ์ลูก
ประวัติ ข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์ชัยนาท 2 ดำเนินการปรับปรุงพันธุ์ในระหว่างปี พ.ศ.2549-2556 ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท เพื่อให้ได้ข้าวโพดหวานลูกผสมที่มีผลผลิตสูง คุณภาพการบริโภคดี และต้านทานต่อโรคใบไหม้แผลใหญ่ เกิดจากการผสมระหว่างสายพันธุ์แท้เบอร์ 75 กับสายพันธุ์แท้เบอร์ 66 ผ่านการประเมินผลผลิตพันธุ์ลูก
ประวัติ ข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์ชัยนาท 86-1 ดำเนินการปรับปรุงพันธุ์ในระหว่างปี พ.ศ.2548-2554 ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท เพื่อให้ได้ข้าวโพดหวานลูกผสมที่มีผลผลิตสูง และคุณภาพการบริโภคดี เกิดจากการผสมระหว่างสายพันธุ์แท้เบอร์ 75 กับสายพันธุ์แท้เบอร์ 50 ผ่านการประเมินผลผลิตพันธุ์ลูกผสมตามขั้นตอนของกรมวิชา
ประวัติ ข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์ชัยนาท 86-1 ดำเนินการปรับปรุงพันธุ์ในระหว่างปี พ.ศ.2548-2554 ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท เพื่อให้ได้ข้าวโพดหวานลูกผสมที่มีผลผลิตสูง และคุณภาพการบริโภคดี เกิดจากการผสมระหว่างสายพันธุ์แท้เบอร์ 75 กับสายพันธุ์แท้เบอร์ 50 ผ่านการประเมินผลผลิตพันธุ์ลูกผสมตามขั้นตอนของกรมวิชา
ประวัติ ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมพันธุ์ชัยนาท 84-1 ดำเนินการปรับปรุงพันธุ์ในระหว่างปี พ.ศ.2544-2551 ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท เพื่อให้ได้ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมที่มีผลผลิตสูง และมีความเหนียวนุ่ม เกิดจากการผสมระหว่างสายพันธุ์แท้ F4305 กับสายพันธุ์แท้ M80 ผ่านการประเมินผลผลิตพันธุ์ลูกผสมตามขั้นตอนของกรม
ประวัติ ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมพันธุ์ชัยนาท 84-1 ดำเนินการปรับปรุงพันธุ์ในระหว่างปี พ.ศ.2544-2551 ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท เพื่อให้ได้ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมที่มีผลผลิตสูง และมีความเหนียวนุ่ม เกิดจากการผสมระหว่างสายพันธุ์แท้ F4305 กับสายพันธุ์แท้ M80 ผ่านการประเมินผลผลิตพันธุ์ลูกผสมตามขั้นตอนของกรม
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เป็นพืชเศรษฐกิจหลักที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมอาหารสัตว์ของประเทศ ทั้งนี้ มีการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์ภายในประเทศมากถึงร้อยละ 93.1 ของอาหารเลี้ยงสัตว์ทั้งหมดภายในประเทศ ซึ่งจากปริมาณความต้องการดังกล่าวถือเป็นโอกาสอันดี ที่เกษตรกรของไทยจะพัฒนาการผลิตข้าว
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เป็นพืชเศรษฐกิจหลักที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมอาหารสัตว์ของประเทศ ทั้งนี้ มีการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์ภายในประเทศมากถึงร้อยละ 93.1 ของอาหารเลี้ยงสัตว์ทั้งหมดภายในประเทศ ซึ่งจากปริมาณความต้องการดังกล่าวถือเป็นโอกาสอันดี ที่เกษตรกรของไทยจะพัฒนาการผลิตข้าว
วันนี้ทางสยามคูโบต้าฯ ได้มีโอกาสได้สัมภาษณ์เกษตรกรผู้มากประสบการณ์ในด้านการเพาะปลูกข้าวโพดมานานกว่า 25 ปี ใน อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี นั่นก็คือ คุณอนงค์ วัตวงษ์ ซึ่งทำการเพาะปลูกข้าวโพดบนพื้นที่กว่า 50 ไร่ ให้เป็นเกษตรกรมืออาชีพถึงปัจจุบัน โดยที่เกษตรกรรายอื่นสามารถปฏิบัติตามได้อย่างแน่นอน
วันนี้ทางสยามคูโบต้าฯ ได้มีโอกาสได้สัมภาษณ์เกษตรกรผู้มากประสบการณ์ในด้านการเพาะปลูกข้าวโพดมานานกว่า 25 ปี ใน อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี นั่นก็คือ คุณอนงค์ วัตวงษ์ ซึ่งทำการเพาะปลูกข้าวโพดบนพื้นที่กว่า 50 ไร่ ให้เป็นเกษตรกรมืออาชีพถึงปัจจุบัน โดยที่เกษตรกรรายอื่นสามารถปฏิบัติตามได้อย่างแน่นอน
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถือเป็นพืชไร่อันดับต้นๆที่นิยมปลูกในประเทศไทย และนอกจากนั้นไทยยังเป็นแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่สำคัญในภูมิภาคอาเซียน เนื่องจากเป็นวัตถุดิบสำคัญของอุตสาหกรรมในประเทศที่มีความสามารถในการรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกร และมีเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่เพาะปลูก
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถือเป็นพืชไร่อันดับต้นๆที่นิยมปลูกในประเทศไทย และนอกจากนั้นไทยยังเป็นแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่สำคัญในภูมิภาคอาเซียน เนื่องจากเป็นวัตถุดิบสำคัญของอุตสาหกรรมในประเทศที่มีความสามารถในการรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกร และมีเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่เพาะปลูก