โรคเน่าคออ้อย (แบคทีรีโอซีส)

เชื้อสาเหตุ : Erwinia carotovora แบคทีเรีย 

อาการ : ในระยะแรกอ้อยจะแห้งตายเป็นบางหน่อ ระยะหลังลำอ้อยบริเวณคอเน่าจนคอหักพับ มีกลิ่นเหม็นเน่า เนื้อในอ้อยยุบเป็นโพรงเห็นเนื้อเป็นเส้น

วิธีการแพร่ระบาด : ติดไปกับท่อนพันธุ์ ลมและฝนพัดพาเชื้อจากต้นที่เป็นโรคไปติดต้นข้างเคียง

วิธีการป้องกันรักษา : พบกอเป็นโรคให้ตัดออกทำลาย พ่นสารเคมีแอกกริไมซินบนกอที่ตัดทิ้งและบริเวณรอบ ๆ กอ

สภาพแวดล้อมที่ : เหมาะสมในการแพร่ระบาดพบกอเป็นโรคให้ตัดออกทำลาย พ่นสารเคมีแอกกริไมซินบนกอที่ตัดทิ้งและบริเวณรอบ ๆ กอ

พาหะนำโรค : ท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค ลม ฝน

บทความที่เกี่ยวข้อง

การเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานในช่วงเวลาที่เหมาะสม จะสัมพันธ์กับความแก่-อ่อน ขนาด รูปร่าง รสชาติ และน้ำหนักของข้าวโพดหวาน ปัจจุบันข้าวโพดหวานแต่ละพันธุ์มีอายุใกล้เคียงกัน คือ จะออกดอกประมาณ 45-50 วันหลังปลูก และเก็บเกี่ยวเมื่อข้าวโพดหวานมีอายุไม่เกิน 73 วัน ระยะเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม เมื่อข้าวโพดหวาน
การปลูกอ้อยข้ามแล้ง หรือ การปลูกอ้อยปลายฤดูกาลปลูกอ้อยแบบหนึ่งนอกฤดูฝนโดยอาศัยปริมาณน้้าฝนในช่วงปลายฤดูฝนมาสะสมอยู่ในรูปของความชื้นในดิน และอ้อยจะอาศัยความชื้นดังกล่าว มาช่วยในการงอกและการเจริญเติบโต จนกระทั่งฤดูฝนใหม่จะมาถึงหรือฝนตกหลงฤดูตกมาเติมความชื้นในดินใหม่ให้เพียงพอต่อความเจริญเติบโตของอ้อย
การให้น้ำแก่ถั่วลิสงต้องคำนึงถึงปริมาณน้ำที่ให้อย่างเหมาะสมกับความต้องการใช้น้ำของต้นถั่วลิสงที่ช่วงอายุการเจริญเติบโตต่าง ๆ การปลูกถั่วลิสงในประเทศไทย มีปริมาณความต้องการใช้น้ำชลประทาน 700 – 900 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ วิธีการให้น้ำ ในการปลูกถั่วลิสงหลังนา เกษตรกรนิยมให้น้ำแบบปล่อยตามร่อง