โรคเน่าคออ้อย (แบคทีรีโอซีส)

เชื้อสาเหตุ : Erwinia carotovora แบคทีเรีย 

อาการ : ในระยะแรกอ้อยจะแห้งตายเป็นบางหน่อ ระยะหลังลำอ้อยบริเวณคอเน่าจนคอหักพับ มีกลิ่นเหม็นเน่า เนื้อในอ้อยยุบเป็นโพรงเห็นเนื้อเป็นเส้น

วิธีการแพร่ระบาด : ติดไปกับท่อนพันธุ์ ลมและฝนพัดพาเชื้อจากต้นที่เป็นโรคไปติดต้นข้างเคียง

วิธีการป้องกันรักษา : พบกอเป็นโรคให้ตัดออกทำลาย พ่นสารเคมีแอกกริไมซินบนกอที่ตัดทิ้งและบริเวณรอบ ๆ กอ

สภาพแวดล้อมที่ : เหมาะสมในการแพร่ระบาดพบกอเป็นโรคให้ตัดออกทำลาย พ่นสารเคมีแอกกริไมซินบนกอที่ตัดทิ้งและบริเวณรอบ ๆ กอ

พาหะนำโรค : ท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค ลม ฝน

บทความที่เกี่ยวข้อง

ข้าวพันธุ์ กข 79 ได้รับรองพันธุ์เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562 และอยู่ระหว่างการขยายพันธุ์เพื่อให้ได้จำนวนเมล็ดพันธุ์ข้าว รองรับพื้นที่เพาะปลูกจำนวน 500,000 ไร่ ในปี 2563 กรมการข้าวจึงปรับแผนที่จะนำเมล็ดพันธุ์ กข79 จำนวนหนึ่งมาใช้ในโครงการนำร่องการผลิตและตลาดข้าวนุ่มครบวงจรในพื้นที่เขตชลประทาน
การปลูกอ้อยให้ได้ดีมีผลผลิตสูงต้องอาศัยการใช้พันธุ์อ้อยที่มีคุณสมบัติที่ดีเหมาะสมกับพื้นที่เพาะปลูก และต้องอาศัยการดูแลรักษาเฝ้าระวังโรคและแมลงอย่างสม่ำเสมอ จนสามารถได้ผลผลิตและค่าความหวานสูง ลุง สรวิชญ์ ศรีพิมาน เกษตรกรคนเก่งแห่งกาญจนบุรี ผู้ซึ่งมีประสบการณ์ปลูกอ้อยเป็นเวลานานกว่า 40 ปี ปัจจุบันได้