โรครากหรือหัวเน่า

โรครากและหัวเน่าเป็นโรคที่มีความสำคัญมาก ทำให้ผลผลิตสูญเสียโดยตรง โดยเฉพาะในแหล่งที่ดินระบายน้ำได้ยาก ฝนตกชุกเกินไปหรือในพื้นที่ที่เคยปลูกกาแฟ ยาง หรือเป็นป่าไม้มาแล้ว

ในบางครั้งสามารถพบได้ในแหล่งที่ดินมีการชะล้างสูง โรคนี้สามารถเกิดได้ทั้งระยะต้นกล้า และระยะที่ลงหัวแล้ว โรครากและหัวเน่าเกิดจากเชื้อราสาเหตุหลายชนิด พบว่า สาเหตุของโรครากเน่ามีเชื้อรา 36 ชนิด บักเตรี 4 ชนิด และ Phytomonas 1 ชนิด ทำให้ยากแก่การวินิจฉัย สำหรับเชื้อราสาเหตุที่สำคัญ คือ เชื้อราในสกุล Fusarium spp. Diplodia spp. Phytophthora sppโดยเฉพาะอย่างยิ่งP. drechsleri และ Pythium spp. ในประเทศไทย เท่าที่สำรวจพบมีอยู่ 3 ชนิด คือ

โรคหัวเน่าและ (Phytophthora Root Rot หรือ Wet Rot)

เชือสาเหตุ Phytophtora drechsleri เชื้อโรคนี้จะเกิดกับมันสำปะหลังทั้งในระยะกล้าและลง

หัวแล้ว มักจะพบในบริเวณที่ดินมีระบบระบายน้ำยาก และอยู่ใกล้กับทางน้ำหรือคลอง โรคนี้อาจความเสียหายถึง 80 เปอร์เซ็นต

ลักษณะอาการ ถ้าเกิดกับต้นยังเล็กอยู่จะทำให้รากเป็นรอยชําสีน้ำตาลและเน่ า ต้นจะเหี่ยวเฉา

ถ้าเกิดกับหัวจะทำให้หัวเน่าอย่างรวดเร็ว และมีกลิ่นเหม็น ใบเหี่ยวแล้วร่วง ถ้าเกิดรุนแรงต้นจะตายมีรายงานในอัฟริกาและอเมริกาใต้ว่า โรคนี้เกิดจากเชื้อรา Phytophthora ชนิดอื่น ๆ อีกคือ  P.erythoseptica และ P. cryptogea

บทความที่เกี่ยวข้อง

ความสำคัญ แตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมา หรือแตนตาแดง เป็นแมลงที่มีขนาดเล็กมาก เมื่อเจริญเต็มที่มีขนาด ประมาณ 0.50 มิลลิเมตร ลำตัวสีน้ำตาลเหลืองขุ่น ตาสีแดง บริเวณเส้นปีกมีขนอ่อนเรียงเป็นแนวตรง แตนเบียนไข่ไตรโคแกรมมาทำลายไข่ของผีเสื้อต่างๆ ได้หลายชนิด เช่น หนอนกออ้อย หนอนกอข้าว หนอนห่อใบข้าว หนอนเจาะ ล้าต้น
มีคำกล่าวที่ว่า “เริ่มต้นดี มีชัยไปกว่าครึ่ง” แต่สำหรับพี่น้องชาวนา การเริ่มต้นที่ดีนั้นหมายถึง โอกาสในการเพิ่มผลผลิต และเงินรายได้ในปีนั้นเลยทีเดียว ดังนั้นห้องเรียนเกษตรในฉบับนี้จะนำเสนอวิธีการเพาะกล้าข้าวอย่างมืออาชีพ ซึ่งจะช่วยให้ท่านสามารถเพาะกล้าให้ได้กล้าข้าวที่มีคุณภาพ ปราศจากโรค และประหยัด
วิธีการปรับปรุงบำรุงดิน การปรับปรุงบำรุงดินที่มีความสามารถในการให้ผลผลิตพืชต่ำ จะต้องมีการปฏิบัติพร้อม ๆ กันไปกับการอนุรักษ์ดินหรือการควบคุมการสูญเสียเนื้อดินออกไปจากแปลงปลูก หลักการในประเด็นนี้นับว่าเป็นมาตรการที่สำคัญมาก ในทางปฏิบัติ วิธีการปรับปรุงบำรุงดินมันสำปะหลังให้ดีขึ้นพร้อม ๆ กันไปกับการ