ความรู้พืชผลทางการเกษตรเพื่อเกษตรกรไทย

เลือกตามประเภทเนื้อหา
ปุ๋ย หนึ่งในตัวช่วยของเกษตรกร ที่จะยกระดับประสิทธิภาพของการเพาะปลูก ปลูกผักก็ขึ้นงาม ปลูกผลไม้ก็โตง่าย เพิ่มผลผลิตให้งอกเงยสมบูรณ์ ได้ผลผลิตตามต้องการ และมีคุณภาพ สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร ซึ่งบทความนี้ KUBOTA จะมาเจาะลึกทุกรายละเอียดทุกประเด็น ของปุ๋ย จะมีอะไรบ้างไปดูกันเลย
ปุ๋ย หนึ่งในตัวช่วยของเกษตรกร ที่จะยกระดับประสิทธิภาพของการเพาะปลูก ปลูกผักก็ขึ้นงาม ปลูกผลไม้ก็โตง่าย เพิ่มผลผลิตให้งอกเงยสมบูรณ์ ได้ผลผลิตตามต้องการ และมีคุณภาพ สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร ซึ่งบทความนี้ KUBOTA จะมาเจาะลึกทุกรายละเอียดทุกประเด็น ของปุ๋ย จะมีอะไรบ้างไปดูกันเลย
ชีวภัณฑ์ มิตรคู่เกษตรกร ผู้ปกป้องพืชผักจากศัตรูพืช วิธีการเกษตรที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีห่วงโซ่อาหารเข้ากับเกษตรกรรมอย่างลงตัว อีกหนึ่งทางเลือกที่น่าสนใจในยุคที่การใช้สารเคมีไม่ตอบโจทย์สำหรับผู้บริโภค เนื่องจากอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ซึ่งชีวภัณฑ์คืออะไร ไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพจริงหรือไม่ หาคำตอบได้ในบทความนี้กับ KUBOTA 
ชีวภัณฑ์ มิตรคู่เกษตรกร ผู้ปกป้องพืชผักจากศัตรูพืช วิธีการเกษตรที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีห่วงโซ่อาหารเข้ากับเกษตรกรรมอย่างลงตัว อีกหนึ่งทางเลือกที่น่าสนใจในยุคที่การใช้สารเคมีไม่ตอบโจทย์สำหรับผู้บริโภค เนื่องจากอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ซึ่งชีวภัณฑ์คืออะไร ไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพจริงหรือไม่ หาคำตอบได้ในบทความนี้กับ KUBOTA 
ไม่ว่าจะมีพื้นที่เกษตรกรรมมากหรือน้อย พื้นที่ปลูกข้าวจำนวน 10 ไร่ หรือเป็น 100 ไร่ พอถึงช่วงเวลาของการบำรุงรักษาที่ต้องฉีดพ่นสาร เกษตรกรย่อมไม่อยากสัมผัสกับสารเคมีโดยตรง และถ้าหาแรงงานมาฉีดพ่นสารไม่ได้ จะมีแนวทางจัดการได้อย่างไรบ้าง
ไม่ว่าจะมีพื้นที่เกษตรกรรมมากหรือน้อย พื้นที่ปลูกข้าวจำนวน 10 ไร่ หรือเป็น 100 ไร่ พอถึงช่วงเวลาของการบำรุงรักษาที่ต้องฉีดพ่นสาร เกษตรกรย่อมไม่อยากสัมผัสกับสารเคมีโดยตรง และถ้าหาแรงงานมาฉีดพ่นสารไม่ได้ จะมีแนวทางจัดการได้อย่างไรบ้าง
ฟางข้าว อย่ามองข้าม สามารถนำไปแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าในหลากหลายอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็น การเกษตร พลังงาน หรือแม้กระทั่งแฟชั่น ในบทความนี้ KAS จะมาแนะนำ 10 วิธีการแปรรูปฟางข้าววัสดุเหลือใช้ที่อาจไม่เคยรู้มาก่อน จะมีอะไรบ้างไปดูกัน
ฟางข้าว อย่ามองข้าม สามารถนำไปแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าในหลากหลายอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็น การเกษตร พลังงาน หรือแม้กระทั่งแฟชั่น ในบทความนี้ KAS จะมาแนะนำ 10 วิธีการแปรรูปฟางข้าววัสดุเหลือใช้ที่อาจไม่เคยรู้มาก่อน จะมีอะไรบ้างไปดูกัน
ในยุคปัจจุบันที่สภาพอากาศแปรปรวนจากภาวะโลกเดือด (Global Boiling) ทำให้เกษตรกรเพาะปลูกพืชผักลำบากมากขึ้น การปลูกผักในโรงเรือนจึงอาจะเป็นทางออกที่ดี ที่มีประสิทธิภาพที่สูง และตอบโจทย์วิกฤตที่เกษตกรกำลังเผชิญอยู่ได้ มาเรียนรู้เทคนิคการปลูกผักในโรงเรือน สร้างผลผลิตได้ตลอดปีในบทความนี้กับ KAS
ในยุคปัจจุบันที่สภาพอากาศแปรปรวนจากภาวะโลกเดือด (Global Boiling) ทำให้เกษตรกรเพาะปลูกพืชผักลำบากมากขึ้น การปลูกผักในโรงเรือนจึงอาจะเป็นทางออกที่ดี ที่มีประสิทธิภาพที่สูง และตอบโจทย์วิกฤตที่เกษตกรกำลังเผชิญอยู่ได้ มาเรียนรู้เทคนิคการปลูกผักในโรงเรือน สร้างผลผลิตได้ตลอดปีในบทความนี้กับ KAS
อากาศที่ร้อนและแล้งในช่วงเดือน มีนาคม-พฤษภาคม ทำให้เพลี้ยแป้งสีชมพูเพิ่มปริมาณได้รวดเร็วขึ้น ทางนักวิชาการแนะนำว่า อย่าฉีดยาฆ่าแมลง เพื่อกำจัดเพลี้ยแป้งสีชมพู อย่างเด็ดขาด
อากาศที่ร้อนและแล้งในช่วงเดือน มีนาคม-พฤษภาคม ทำให้เพลี้ยแป้งสีชมพูเพิ่มปริมาณได้รวดเร็วขึ้น ทางนักวิชาการแนะนำว่า อย่าฉีดยาฆ่าแมลง เพื่อกำจัดเพลี้ยแป้งสีชมพู อย่างเด็ดขาด
มี 2 ชนิด คือ ไรแดงหม่อน และไรแดงมันสำปะหลัง ตัวอ่อนมี 6 ขา ตัวกลมใส ตัวเต็มวัยมีสีแดงเข้ม มี 8 ขา กว้าง 0.4 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 0.5 มิลลิเมตร ส่วนขาไม่มีสีอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ลักษณะการทำลายไรแดงหม่อนดูดกินน้ำเลี้ยงตามใต้ใบจากส่วนใบล่าง และขยายปริมาณขึ้นส่วนยอด ไรแดงมันสำปะหลังดูดกินน้ำเลี้ยงบน
มี 2 ชนิด คือ ไรแดงหม่อน และไรแดงมันสำปะหลัง ตัวอ่อนมี 6 ขา ตัวกลมใส ตัวเต็มวัยมีสีแดงเข้ม มี 8 ขา กว้าง 0.4 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 0.5 มิลลิเมตร ส่วนขาไม่มีสีอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ลักษณะการทำลายไรแดงหม่อนดูดกินน้ำเลี้ยงตามใต้ใบจากส่วนใบล่าง และขยายปริมาณขึ้นส่วนยอด ไรแดงมันสำปะหลังดูดกินน้ำเลี้ยงบน
มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เอกสารแนะนำ เลขที่ 2/2552 ธันวาคม 2552 เกษตรกรสามารถควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง โดยใช้ชีววิธี มี 2 วิธี ได้แก่ การใช้เชื้อราบิวเวอเรียฉีดพ่น และการปล่อยตัวอ่อนแมลงช้างปีกใส ซึ่งเป็นวิธีธรรมชาติ
มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เอกสารแนะนำ เลขที่ 2/2552 ธันวาคม 2552 เกษตรกรสามารถควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง โดยใช้ชีววิธี มี 2 วิธี ได้แก่ การใช้เชื้อราบิวเวอเรียฉีดพ่น และการปล่อยตัวอ่อนแมลงช้างปีกใส ซึ่งเป็นวิธีธรรมชาติ
เตรียมส่วนผสม ขั้นตอนที่ 1: ราบิวเวอเรีย 1 ก้อน ผสมกับกับน้ำ 2 ลิตร และน้ำยาล้างจาน 2 ช้อนชา (10 มิลลิลิตร) ขั้นตอนที่ 2 : ขยี้ให้สปอร์หลุดจากเมล็ดข้าว แล้วกรองผ่านผ้าขาวบาง เทใส่ลงในส่วนผสมในขั้นตอนที่ 1 จะได้สารละลายสีขาวขุ่น ขั้นตอนที่ 3 : เติมน้ำใส่ลงในส่วนผสมให้ครบ 20 ลิตร ขั้นตอนที่ 4
เตรียมส่วนผสม ขั้นตอนที่ 1: ราบิวเวอเรีย 1 ก้อน ผสมกับกับน้ำ 2 ลิตร และน้ำยาล้างจาน 2 ช้อนชา (10 มิลลิลิตร) ขั้นตอนที่ 2 : ขยี้ให้สปอร์หลุดจากเมล็ดข้าว แล้วกรองผ่านผ้าขาวบาง เทใส่ลงในส่วนผสมในขั้นตอนที่ 1 จะได้สารละลายสีขาวขุ่น ขั้นตอนที่ 3 : เติมน้ำใส่ลงในส่วนผสมให้ครบ 20 ลิตร ขั้นตอนที่ 4
แตนเบียน (Anagyrus lopezi) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแถบอเมริกาใต้ ทำหน้าที่เป็นทั้งตัวห้ำและตัวเบียน สามารถฆ่า (การห้ำ) เพลี้ยแป้งสีชมพูให้ตายได้ทันที เฉลี่ยวันละ 20-30 ตัว และวางไข่ (การเบียน) ในตัวเพลี้ยแป้งสีชมพู เฉลี่ยวันละ 15-20 ตัว แตนเบียนหนึ่งตัวสามารถฆ่าเพลี้ยแป้งสีชมพูได้เฉลี่ยวันละ 35-50 ตัว
แตนเบียน (Anagyrus lopezi) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแถบอเมริกาใต้ ทำหน้าที่เป็นทั้งตัวห้ำและตัวเบียน สามารถฆ่า (การห้ำ) เพลี้ยแป้งสีชมพูให้ตายได้ทันที เฉลี่ยวันละ 20-30 ตัว และวางไข่ (การเบียน) ในตัวเพลี้ยแป้งสีชมพู เฉลี่ยวันละ 15-20 ตัว แตนเบียนหนึ่งตัวสามารถฆ่าเพลี้ยแป้งสีชมพูได้เฉลี่ยวันละ 35-50 ตัว
ด้วงเต่าตัวห้ำ เป็นแมลงห้ำทั้งในระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย สามารถทําลายศัตรูพืชได้หลายชนิด ได้แก่ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยหอย เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยอ่อน ไข่ของผีเสื้อ หนอนขนาดเล็ก และแมลงหวี่ขาว เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถกินไรศัตรูพืช และบางชนิดกินเชื้อราเป็นอาหาร ด้วงเต่าทั่วไปมีปากแบบ ปากกัด ตัวเต
ด้วงเต่าตัวห้ำ เป็นแมลงห้ำทั้งในระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย สามารถทําลายศัตรูพืชได้หลายชนิด ได้แก่ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยหอย เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยอ่อน ไข่ของผีเสื้อ หนอนขนาดเล็ก และแมลงหวี่ขาว เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถกินไรศัตรูพืช และบางชนิดกินเชื้อราเป็นอาหาร ด้วงเต่าทั่วไปมีปากแบบ ปากกัด ตัวเต
ชื่อทั่วไป : แมลงช้างปีกใส (Green lacewing) วงศ์ (Family) : Chrysopidae อันดับ (Order) : Neuroptera เป็นแมลงห้ำที่มีบทบาทในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยตัวอ่อนของแมลงช้างปีกใส เป็นตัวห้ำที่กินศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่นเพลี้ยอ่อย เพลี้ยแป้ง ตัวอ่อนเพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่
ชื่อทั่วไป : แมลงช้างปีกใส (Green lacewing) วงศ์ (Family) : Chrysopidae อันดับ (Order) : Neuroptera เป็นแมลงห้ำที่มีบทบาทในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยตัวอ่อนของแมลงช้างปีกใส เป็นตัวห้ำที่กินศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่นเพลี้ยอ่อย เพลี้ยแป้ง ตัวอ่อนเพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง (Cassava Bacterial Blight : CBB) เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง (Cassava Bacterial Blight : CBB) เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518
เกิดจากเชื้อรา Cercosporidium ingsii พบครั้งแรกในประเทศซาเนีย สำหรับในประเทศไทยพบว่ามันสำปะหลังเกือบทุกสายพันธุ์เป็นโรคใบจุดสีน้ำตาล ความรุนแรงขึ้นอยู่กับอายุพืชและสภาพแวดล้อม และสามารถพบโรคในแหล่งที่มีความชื้นต่ำและแห้งแล้งได้
เกิดจากเชื้อรา Cercosporidium ingsii พบครั้งแรกในประเทศซาเนีย สำหรับในประเทศไทยพบว่ามันสำปะหลังเกือบทุกสายพันธุ์เป็นโรคใบจุดสีน้ำตาล ความรุนแรงขึ้นอยู่กับอายุพืชและสภาพแวดล้อม และสามารถพบโรคในแหล่งที่มีความชื้นต่ำและแห้งแล้งได้
เกิดจากเชื้อรา Phoeoramularia manihotis (Cercospora caribaea) พบได้ทั้งในทวีป เอเชีย อเมริกาเหนือ อัฟริกา และลาตินอเมริกา สามารถพบได้ในเขตปลูกมันสำปะหลังที่ชื้นและเย็น
เกิดจากเชื้อรา Phoeoramularia manihotis (Cercospora caribaea) พบได้ทั้งในทวีป เอเชีย อเมริกาเหนือ อัฟริกา และลาตินอเมริกา สามารถพบได้ในเขตปลูกมันสำปะหลังที่ชื้นและเย็น