ความรู้พืชผลทางการเกษตรเพื่อเกษตรกรไทย

เลือกตามประเภทเนื้อหา
แอปพยากรณ์อากาศ ผู้ช่วยคนสำคัญของเกษตรกรยุคใหม่ ที่ต้องเผชิญสภาพอากาศที่แปรปรวน เช่น ฝนตกหนักจนเกิดน้ำท่วมอย่างรุนแรง สร้างความเสียหายให้เกษตรกรอย่างมหาศาล เพื่อลดความเสี่ยงนั้นในอนาคต KAS หรือ KUBOTA (Agri) Solutions จึงได้รวบรวม 6 แอปพยากรณ์อากาศที่น่าสนใจ ให้เกษตรกรได้ทดลอง และเลือกใช้ เป็นตัวช่วยให้เกษตรกรรับมือการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดได้ดียิ่งขึ้น
แอปพยากรณ์อากาศ ผู้ช่วยคนสำคัญของเกษตรกรยุคใหม่ ที่ต้องเผชิญสภาพอากาศที่แปรปรวน เช่น ฝนตกหนักจนเกิดน้ำท่วมอย่างรุนแรง สร้างความเสียหายให้เกษตรกรอย่างมหาศาล เพื่อลดความเสี่ยงนั้นในอนาคต KAS หรือ KUBOTA (Agri) Solutions จึงได้รวบรวม 6 แอปพยากรณ์อากาศที่น่าสนใจ ให้เกษตรกรได้ทดลอง และเลือกใช้ เป็นตัวช่วยให้เกษตรกรรับมือการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดได้ดียิ่งขึ้น
ปัญหาน้ำท่วมขังในแปลงเพาะปลูก ควรแก้ไขอย่างไร? บทความนี้มีคำตอบ
ปัญหาน้ำท่วมขังในแปลงเพาะปลูก ควรแก้ไขอย่างไร? บทความนี้มีคำตอบ
ทำนาดั้งเดิม นาหยอด ปรับระดับพื้นที่นาด้วยระบบเลเซอร์ แบบไหนช่วยเพิ่มรายได้มากกว่ากัน
ทำนาดั้งเดิม นาหยอด ปรับระดับพื้นที่นาด้วยระบบเลเซอร์ แบบไหนช่วยเพิ่มรายได้มากกว่ากัน
ทำความรู้จักกับเทคโนโลยีที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเพาะปลูก และกำจัดศัตรูพืช
ทำความรู้จักกับเทคโนโลยีที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเพาะปลูก และกำจัดศัตรูพืช
น้ำไม่ได้คุณภาพ มีวิธีการปรับปรุงคุณภาพน้ำให้ดีขึ้นได้อย่างไร?
น้ำไม่ได้คุณภาพ มีวิธีการปรับปรุงคุณภาพน้ำให้ดีขึ้นได้อย่างไร?
เห็ดเรืองแสง คือเห็ดที่สามารถเรืองแสงหรือเปล่งแสงได้ในที่มืด จัดเป็นเห็ดที่มีลักษณะพิเศษ คือมีแสงในตัวเอง โดยแสงที่เปล่งออกมาเป็นกลไกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ สามารถสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจนเมื่ออยู่ในสภาพที่ไม่มีแสงหรืออยู่ในที่มืด ส่วนใหญ่เรืองแสงสีเขียวอมฟ้า หรือสีเขียวอมเหลือง ตามชนิดของเห็ด
เห็ดเรืองแสง คือเห็ดที่สามารถเรืองแสงหรือเปล่งแสงได้ในที่มืด จัดเป็นเห็ดที่มีลักษณะพิเศษ คือมีแสงในตัวเอง โดยแสงที่เปล่งออกมาเป็นกลไกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ สามารถสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจนเมื่ออยู่ในสภาพที่ไม่มีแสงหรืออยู่ในที่มืด ส่วนใหญ่เรืองแสงสีเขียวอมฟ้า หรือสีเขียวอมเหลือง ตามชนิดของเห็ด
การให้น้ำแก่ถั่วลิสงต้องคำนึงถึงปริมาณน้ำที่ให้อย่างเหมาะสมกับความต้องการใช้น้ำของต้นถั่วลิสงที่ช่วงอายุการเจริญเติบโตต่าง ๆ การปลูกถั่วลิสงในประเทศไทย มีปริมาณความต้องการใช้น้ำชลประทาน 700 – 900 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ วิธีการให้น้ำ ในการปลูกถั่วลิสงหลังนา เกษตรกรนิยมให้น้ำแบบปล่อยตามร่อง
การให้น้ำแก่ถั่วลิสงต้องคำนึงถึงปริมาณน้ำที่ให้อย่างเหมาะสมกับความต้องการใช้น้ำของต้นถั่วลิสงที่ช่วงอายุการเจริญเติบโตต่าง ๆ การปลูกถั่วลิสงในประเทศไทย มีปริมาณความต้องการใช้น้ำชลประทาน 700 – 900 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ วิธีการให้น้ำ ในการปลูกถั่วลิสงหลังนา เกษตรกรนิยมให้น้ำแบบปล่อยตามร่อง
จอกหูหนูยักษ์ สิ่งที่ต้องห้ามตามพระราชบัญญัติกักพืช เป็นเฟิร์นน้ำต่างถิ่นที่ลอยน้ำอย่างอิสระ ไม่ยึดเกาะกับดิน ลำต้นทอดยาวอยู่ใกล้ผิวน้ำ แต่ละข้อมีใบ 1 คู่ อยู่เหนือผิวน้ำ เมื่อเล็กมีรูปร่างกลม แบน ลอยปิ่มน้ำ เมื่อโตเต็มพื้นที่ใบทั้งคู่จะยกตัวขึ้นปลายใบแยกออกจากกัน ผิวใบด้านบนปกคลุมด้วยขนแข็ง
จอกหูหนูยักษ์ สิ่งที่ต้องห้ามตามพระราชบัญญัติกักพืช เป็นเฟิร์นน้ำต่างถิ่นที่ลอยน้ำอย่างอิสระ ไม่ยึดเกาะกับดิน ลำต้นทอดยาวอยู่ใกล้ผิวน้ำ แต่ละข้อมีใบ 1 คู่ อยู่เหนือผิวน้ำ เมื่อเล็กมีรูปร่างกลม แบน ลอยปิ่มน้ำ เมื่อโตเต็มพื้นที่ใบทั้งคู่จะยกตัวขึ้นปลายใบแยกออกจากกัน ผิวใบด้านบนปกคลุมด้วยขนแข็ง
กากเมล็ดชาน้ำมัน ประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัด กากเมล็ดชาน้ำมัน มีสารกลุ่มซาโปนิน (triterpenoid Saponin) มีฤทธ์ต่อระบบปราสาทระบบเลือด และมีผลต่อการลอกคราบแมลง สามารถกำจัดหอยเชอรี่หอยศัตรูกล้วยไม้ วิธีการใช้ป้องกันกำจัดศัตรูพืช เพื่อกำจัดหอยเชอรี่ (หว่านกากเมล็ดชาในนาข้าว 2.5 กิโลกรัมต่อไร่
กากเมล็ดชาน้ำมัน ประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัด กากเมล็ดชาน้ำมัน มีสารกลุ่มซาโปนิน (triterpenoid Saponin) มีฤทธ์ต่อระบบปราสาทระบบเลือด และมีผลต่อการลอกคราบแมลง สามารถกำจัดหอยเชอรี่หอยศัตรูกล้วยไม้ วิธีการใช้ป้องกันกำจัดศัตรูพืช เพื่อกำจัดหอยเชอรี่ (หว่านกากเมล็ดชาในนาข้าว 2.5 กิโลกรัมต่อไร่
หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก (Acherontia styx ; Death’s head hawk month) หรือเกษตรกรมักจะเรียกว่า “หนอนแก้ว” เป็นแมลงศัตรูที่มีพืชอาหารกว้าง พบในถั่วงา มะเขือ ยาสูบ มันเทศ ม่านบาหลี และแตง เป็นต้น วงจรชีวิตของหนอนผีเสื้อหัวกะโหลกใช้เวลา 49-56 วัน ผีเสื้อเพศเมียหนึ่งตัววางไข่ได้ประมาณ 125-156
หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก (Acherontia styx ; Death’s head hawk month) หรือเกษตรกรมักจะเรียกว่า “หนอนแก้ว” เป็นแมลงศัตรูที่มีพืชอาหารกว้าง พบในถั่วงา มะเขือ ยาสูบ มันเทศ ม่านบาหลี และแตง เป็นต้น วงจรชีวิตของหนอนผีเสื้อหัวกะโหลกใช้เวลา 49-56 วัน ผีเสื้อเพศเมียหนึ่งตัววางไข่ได้ประมาณ 125-156
“รู้ว่าใช้เคมีอันตราย แต่เห็นผลทันที อยากใช้ชีวภัณฑ์นะ แต่ออกฤทธิ์ช้า ไม่ทันการณ์”คำตอบที่มักคุ้นเคย แม้จะรู้พิษภัยของการใช้สารเคมี แต่ด้วยปัจจัยหลายอย่าง ทำให้เกษตรกรจำนวนไม่น้อย ไม่อาจตัดใจเลิกใช้สารเคมีนั้นได้ แต่ในวันที่สารเคมีไม่สามารถจัดการศัตรูพืชได้ สารชีวภัณฑ์จึงเป็นตัวเลือกที่ไม่ควรมองข้าม
“รู้ว่าใช้เคมีอันตราย แต่เห็นผลทันที อยากใช้ชีวภัณฑ์นะ แต่ออกฤทธิ์ช้า ไม่ทันการณ์”คำตอบที่มักคุ้นเคย แม้จะรู้พิษภัยของการใช้สารเคมี แต่ด้วยปัจจัยหลายอย่าง ทำให้เกษตรกรจำนวนไม่น้อย ไม่อาจตัดใจเลิกใช้สารเคมีนั้นได้ แต่ในวันที่สารเคมีไม่สามารถจัดการศัตรูพืชได้ สารชีวภัณฑ์จึงเป็นตัวเลือกที่ไม่ควรมองข้าม
1. โรคไหม้ดำเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum ในสภาพฝนตกชุกและความชื้นสูง ทำความเสียหายกับงาในระยะเจริญเติบโตถึงเก็บเกี่ยว การป้องกัน : ไม่ควรปลูกงาซ้ำที่เดิม ปลูกพืชไม่อาศัยของโรคหมุนเวียนกับงา ถอนต้นที่เริ่มแสดงอาการและเผาทำลายนอกแปลงปลูก ควรปลูกพันธุ์ทนทานต่อโรค เช่น พันธุ์อุบลราชธานี
1. โรคไหม้ดำเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum ในสภาพฝนตกชุกและความชื้นสูง ทำความเสียหายกับงาในระยะเจริญเติบโตถึงเก็บเกี่ยว การป้องกัน : ไม่ควรปลูกงาซ้ำที่เดิม ปลูกพืชไม่อาศัยของโรคหมุนเวียนกับงา ถอนต้นที่เริ่มแสดงอาการและเผาทำลายนอกแปลงปลูก ควรปลูกพันธุ์ทนทานต่อโรค เช่น พันธุ์อุบลราชธานี
ช่วงหน้าฝนแบบนี้สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เลยคือปริมาณน้าที่มากขึ้น และความชื้นในอากาศที่สูงขึ้น หากฝนตกติดต่อกันเกินกว่า 2-3 วัน ควรมีการวางแผนที่ดี เพื่อป้องกันและกาจัดโรคพืชที่ตามมาในหน้าฝน ซึ่งเชื้อราเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดโรคพืชมากที่สุด พืชหลายชนิดเป็นเชื้อราได้ง่าย และมีการระบาดได้อย่างรวดเร็ว
ช่วงหน้าฝนแบบนี้สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เลยคือปริมาณน้าที่มากขึ้น และความชื้นในอากาศที่สูงขึ้น หากฝนตกติดต่อกันเกินกว่า 2-3 วัน ควรมีการวางแผนที่ดี เพื่อป้องกันและกาจัดโรคพืชที่ตามมาในหน้าฝน ซึ่งเชื้อราเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดโรคพืชมากที่สุด พืชหลายชนิดเป็นเชื้อราได้ง่าย และมีการระบาดได้อย่างรวดเร็ว
เมื่อเข้าสู่ฤดูหนาว ในช่วงหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เกษตรกรส่วนใหญ่จะเริ่มทำการเพาะปลูกพืชผัก เพราะในช่วงฤดูหนาวพืชผักจะงอกงามอย่างดี แต่อากาศที่หนาวเย็นบวกกับความแล้ง ที่มีหมอกในตอนเช้า แดดแรงในตอนกลางวัน อากาศเย็นในตอนกลางคืน ระวังโรคพืชที่จะตามมาแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว ทำให้ผลผลิตน้อย โตช้า
เมื่อเข้าสู่ฤดูหนาว ในช่วงหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เกษตรกรส่วนใหญ่จะเริ่มทำการเพาะปลูกพืชผัก เพราะในช่วงฤดูหนาวพืชผักจะงอกงามอย่างดี แต่อากาศที่หนาวเย็นบวกกับความแล้ง ที่มีหมอกในตอนเช้า แดดแรงในตอนกลางวัน อากาศเย็นในตอนกลางคืน ระวังโรคพืชที่จะตามมาแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว ทำให้ผลผลิตน้อย โตช้า
ประเทศไทยมีพื้นที่ผลิตถั่วเขียวประมาณ 829,145 ไร่ มีความต้องการเมล็ดพันธุ์ 4,146 ตัน แต่รัฐผลิตได้ 617 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 15 ของความต้องการเมล็ดพันธุ์ทั้งประเทศ ตั้งแต่ปี 2557 เกิดปัญหาฝนแล้งทำให้เกษตรกรไม่สามารถทำนาปรังได้ ประกอบกับนโยบายแทรกแซงราคาข้าวสิ้นสุดลง เกษตรกรจึงหันมาปลูกถั่วเขียวแทน
ประเทศไทยมีพื้นที่ผลิตถั่วเขียวประมาณ 829,145 ไร่ มีความต้องการเมล็ดพันธุ์ 4,146 ตัน แต่รัฐผลิตได้ 617 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 15 ของความต้องการเมล็ดพันธุ์ทั้งประเทศ ตั้งแต่ปี 2557 เกิดปัญหาฝนแล้งทำให้เกษตรกรไม่สามารถทำนาปรังได้ ประกอบกับนโยบายแทรกแซงราคาข้าวสิ้นสุดลง เกษตรกรจึงหันมาปลูกถั่วเขียวแทน