ความรู้พืชผลทางการเกษตรเพื่อเกษตรกรไทย

เลือกตามประเภทเนื้อหา
ฟางข้าว อย่ามองข้าม สามารถนำไปแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าในหลากหลายอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็น การเกษตร พลังงาน หรือแม้กระทั่งแฟชั่น ในบทความนี้ KAS จะมาแนะนำ 10 วิธีการแปรรูปฟางข้าววัสดุเหลือใช้ที่อาจไม่เคยรู้มาก่อน จะมีอะไรบ้างไปดูกัน
ฟางข้าว อย่ามองข้าม สามารถนำไปแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าในหลากหลายอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็น การเกษตร พลังงาน หรือแม้กระทั่งแฟชั่น ในบทความนี้ KAS จะมาแนะนำ 10 วิธีการแปรรูปฟางข้าววัสดุเหลือใช้ที่อาจไม่เคยรู้มาก่อน จะมีอะไรบ้างไปดูกัน
ในยุคปัจจุบันที่สภาพอากาศแปรปรวนจากภาวะโลกเดือด (Global Boiling) ทำให้เกษตรกรเพาะปลูกพืชผักลำบากมากขึ้น การปลูกผักในโรงเรือนจึงอาจะเป็นทางออกที่ดี ที่มีประสิทธิภาพที่สูง และตอบโจทย์วิกฤตที่เกษตกรกำลังเผชิญอยู่ได้ มาเรียนรู้เทคนิคการปลูกผักในโรงเรือน สร้างผลผลิตได้ตลอดปีในบทความนี้กับ KAS
ในยุคปัจจุบันที่สภาพอากาศแปรปรวนจากภาวะโลกเดือด (Global Boiling) ทำให้เกษตรกรเพาะปลูกพืชผักลำบากมากขึ้น การปลูกผักในโรงเรือนจึงอาจะเป็นทางออกที่ดี ที่มีประสิทธิภาพที่สูง และตอบโจทย์วิกฤตที่เกษตกรกำลังเผชิญอยู่ได้ มาเรียนรู้เทคนิคการปลูกผักในโรงเรือน สร้างผลผลิตได้ตลอดปีในบทความนี้กับ KAS
รู้หรือไม่ว่าการทำนาด้วยวิธีการหว่านแห้ง หรือการหว่านน้ำตม ส่งผลให้เกษตรกรต้องเพิ่มต้นทุนการผลิต ทั้งค่าเมล็ดพันธุ์ และค่าจ้างแรงงาน เนื่องจากการหว่านจะทำให้ต้นข้าวแตกกอหนาแน่น ไม่เป็นระเบียบ จึงจัดการดูแลรักษายาก โดยเฉพาะการกำจัดวัชพืช มีโอกาสเกิดโรคและได้รับความเสียหายจากแมลงศัตรูพืช
รู้หรือไม่ว่าการทำนาด้วยวิธีการหว่านแห้ง หรือการหว่านน้ำตม ส่งผลให้เกษตรกรต้องเพิ่มต้นทุนการผลิต ทั้งค่าเมล็ดพันธุ์ และค่าจ้างแรงงาน เนื่องจากการหว่านจะทำให้ต้นข้าวแตกกอหนาแน่น ไม่เป็นระเบียบ จึงจัดการดูแลรักษายาก โดยเฉพาะการกำจัดวัชพืช มีโอกาสเกิดโรคและได้รับความเสียหายจากแมลงศัตรูพืช
โรคพืช ตัวการทำลายพืชผล หนึ่งในปัญหาสำคัญของเกษตรกร หากไม่สามารถยับยั้งได้จะส่งผลกระทบอย่างต่อเนื่อง สร้างความสูญเสียมหาศาลต่อพืชผลและเกษตรกร ดังนั้นวันนี้ KAS จะมาอธิบายเกี่ยวกับโรคพืช เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจ ป้องกันโรคพืชได้อย่างเหมาะสม จะมีอะไรบ้างไปดูกันเลย
โรคพืช ตัวการทำลายพืชผล หนึ่งในปัญหาสำคัญของเกษตรกร หากไม่สามารถยับยั้งได้จะส่งผลกระทบอย่างต่อเนื่อง สร้างความสูญเสียมหาศาลต่อพืชผลและเกษตรกร ดังนั้นวันนี้ KAS จะมาอธิบายเกี่ยวกับโรคพืช เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจ ป้องกันโรคพืชได้อย่างเหมาะสม จะมีอะไรบ้างไปดูกันเลย
หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก (Acherontia styx ; Death’s head hawk month) หรือเกษตรกรมักจะเรียกว่า “หนอนแก้ว” เป็นแมลงศัตรูที่มีพืชอาหารกว้าง พบในถั่วงา มะเขือ ยาสูบ มันเทศ ม่านบาหลี และแตง เป็นต้น วงจรชีวิตของหนอนผีเสื้อหัวกะโหลกใช้เวลา 49-56 วัน ผีเสื้อเพศเมียหนึ่งตัววางไข่ได้ประมาณ 125-156
หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก (Acherontia styx ; Death’s head hawk month) หรือเกษตรกรมักจะเรียกว่า “หนอนแก้ว” เป็นแมลงศัตรูที่มีพืชอาหารกว้าง พบในถั่วงา มะเขือ ยาสูบ มันเทศ ม่านบาหลี และแตง เป็นต้น วงจรชีวิตของหนอนผีเสื้อหัวกะโหลกใช้เวลา 49-56 วัน ผีเสื้อเพศเมียหนึ่งตัววางไข่ได้ประมาณ 125-156
“รู้ว่าใช้เคมีอันตราย แต่เห็นผลทันที อยากใช้ชีวภัณฑ์นะ แต่ออกฤทธิ์ช้า ไม่ทันการณ์”คำตอบที่มักคุ้นเคย แม้จะรู้พิษภัยของการใช้สารเคมี แต่ด้วยปัจจัยหลายอย่าง ทำให้เกษตรกรจำนวนไม่น้อย ไม่อาจตัดใจเลิกใช้สารเคมีนั้นได้ แต่ในวันที่สารเคมีไม่สามารถจัดการศัตรูพืชได้ สารชีวภัณฑ์จึงเป็นตัวเลือกที่ไม่ควรมองข้าม
“รู้ว่าใช้เคมีอันตราย แต่เห็นผลทันที อยากใช้ชีวภัณฑ์นะ แต่ออกฤทธิ์ช้า ไม่ทันการณ์”คำตอบที่มักคุ้นเคย แม้จะรู้พิษภัยของการใช้สารเคมี แต่ด้วยปัจจัยหลายอย่าง ทำให้เกษตรกรจำนวนไม่น้อย ไม่อาจตัดใจเลิกใช้สารเคมีนั้นได้ แต่ในวันที่สารเคมีไม่สามารถจัดการศัตรูพืชได้ สารชีวภัณฑ์จึงเป็นตัวเลือกที่ไม่ควรมองข้าม
1. โรคไหม้ดำเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum ในสภาพฝนตกชุกและความชื้นสูง ทำความเสียหายกับงาในระยะเจริญเติบโตถึงเก็บเกี่ยว การป้องกัน : ไม่ควรปลูกงาซ้ำที่เดิม ปลูกพืชไม่อาศัยของโรคหมุนเวียนกับงา ถอนต้นที่เริ่มแสดงอาการและเผาทำลายนอกแปลงปลูก ควรปลูกพันธุ์ทนทานต่อโรค เช่น พันธุ์อุบลราชธานี
1. โรคไหม้ดำเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum ในสภาพฝนตกชุกและความชื้นสูง ทำความเสียหายกับงาในระยะเจริญเติบโตถึงเก็บเกี่ยว การป้องกัน : ไม่ควรปลูกงาซ้ำที่เดิม ปลูกพืชไม่อาศัยของโรคหมุนเวียนกับงา ถอนต้นที่เริ่มแสดงอาการและเผาทำลายนอกแปลงปลูก ควรปลูกพันธุ์ทนทานต่อโรค เช่น พันธุ์อุบลราชธานี
ช่วงหน้าฝนแบบนี้สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เลยคือปริมาณน้าที่มากขึ้น และความชื้นในอากาศที่สูงขึ้น หากฝนตกติดต่อกันเกินกว่า 2-3 วัน ควรมีการวางแผนที่ดี เพื่อป้องกันและกาจัดโรคพืชที่ตามมาในหน้าฝน ซึ่งเชื้อราเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดโรคพืชมากที่สุด พืชหลายชนิดเป็นเชื้อราได้ง่าย และมีการระบาดได้อย่างรวดเร็ว
ช่วงหน้าฝนแบบนี้สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เลยคือปริมาณน้าที่มากขึ้น และความชื้นในอากาศที่สูงขึ้น หากฝนตกติดต่อกันเกินกว่า 2-3 วัน ควรมีการวางแผนที่ดี เพื่อป้องกันและกาจัดโรคพืชที่ตามมาในหน้าฝน ซึ่งเชื้อราเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดโรคพืชมากที่สุด พืชหลายชนิดเป็นเชื้อราได้ง่าย และมีการระบาดได้อย่างรวดเร็ว
เมื่อเข้าสู่ฤดูหนาว ในช่วงหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เกษตรกรส่วนใหญ่จะเริ่มทำการเพาะปลูกพืชผัก เพราะในช่วงฤดูหนาวพืชผักจะงอกงามอย่างดี แต่อากาศที่หนาวเย็นบวกกับความแล้ง ที่มีหมอกในตอนเช้า แดดแรงในตอนกลางวัน อากาศเย็นในตอนกลางคืน ระวังโรคพืชที่จะตามมาแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว ทำให้ผลผลิตน้อย โตช้า
เมื่อเข้าสู่ฤดูหนาว ในช่วงหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เกษตรกรส่วนใหญ่จะเริ่มทำการเพาะปลูกพืชผัก เพราะในช่วงฤดูหนาวพืชผักจะงอกงามอย่างดี แต่อากาศที่หนาวเย็นบวกกับความแล้ง ที่มีหมอกในตอนเช้า แดดแรงในตอนกลางวัน อากาศเย็นในตอนกลางคืน ระวังโรคพืชที่จะตามมาแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว ทำให้ผลผลิตน้อย โตช้า
ประเทศไทยมีพื้นที่ผลิตถั่วเขียวประมาณ 829,145 ไร่ มีความต้องการเมล็ดพันธุ์ 4,146 ตัน แต่รัฐผลิตได้ 617 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 15 ของความต้องการเมล็ดพันธุ์ทั้งประเทศ ตั้งแต่ปี 2557 เกิดปัญหาฝนแล้งทำให้เกษตรกรไม่สามารถทำนาปรังได้ ประกอบกับนโยบายแทรกแซงราคาข้าวสิ้นสุดลง เกษตรกรจึงหันมาปลูกถั่วเขียวแทน
ประเทศไทยมีพื้นที่ผลิตถั่วเขียวประมาณ 829,145 ไร่ มีความต้องการเมล็ดพันธุ์ 4,146 ตัน แต่รัฐผลิตได้ 617 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 15 ของความต้องการเมล็ดพันธุ์ทั้งประเทศ ตั้งแต่ปี 2557 เกิดปัญหาฝนแล้งทำให้เกษตรกรไม่สามารถทำนาปรังได้ ประกอบกับนโยบายแทรกแซงราคาข้าวสิ้นสุดลง เกษตรกรจึงหันมาปลูกถั่วเขียวแทน
ถั่วเขียวผิวดำ หรือ ถั่วแขก หรือถั่วเม็ดนุ่น เป็นชื่อเรียกที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ มีลักษณะต้น ใบ กิ่งก้าน ฝัก และเมล็ดใกล้เคียงกับถั่วเขียวธรรมดา ฝักอ่อนใช้รับประทานเป็นผักสด ส่วนเปลือกถั่วและซากลำต้นใช้เป็นอาหารสัตว์ ยังสามารถปลูกไว้เพื่อใช้ทำปุ๋ยพืชสดได้ ปัจจุบันผลผลิตของถั่วเขียวผิวดำตลาดของ
ถั่วเขียวผิวดำ หรือ ถั่วแขก หรือถั่วเม็ดนุ่น เป็นชื่อเรียกที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ มีลักษณะต้น ใบ กิ่งก้าน ฝัก และเมล็ดใกล้เคียงกับถั่วเขียวธรรมดา ฝักอ่อนใช้รับประทานเป็นผักสด ส่วนเปลือกถั่วและซากลำต้นใช้เป็นอาหารสัตว์ ยังสามารถปลูกไว้เพื่อใช้ทำปุ๋ยพืชสดได้ ปัจจุบันผลผลิตของถั่วเขียวผิวดำตลาดของ
งาดำ สายพันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ งาดำบุรีรัมย์ งาดำนครสวรรค์ งาดำ มก.18 งาขาว สายพันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ พันธุ์เมืองเลย พันธุ์เชียงใหม่ พันธุ์ร้อยเอ็ด 1 พันธุ์ มข. 1 พันธุ์มหาสารคาม 60 งาดำ–แดง หรืองาเกษตร ได้แก่ พันธุ์พื้นเมืองพิษณุโลก พันธุ์พื้นเมืองสุโขทัย พันธุ์ มข.3
งาดำ สายพันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ งาดำบุรีรัมย์ งาดำนครสวรรค์ งาดำ มก.18 งาขาว สายพันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ พันธุ์เมืองเลย พันธุ์เชียงใหม่ พันธุ์ร้อยเอ็ด 1 พันธุ์ มข. 1 พันธุ์มหาสารคาม 60 งาดำ–แดง หรืองาเกษตร ได้แก่ พันธุ์พื้นเมืองพิษณุโลก พันธุ์พื้นเมืองสุโขทัย พันธุ์ มข.3
สมบัติของดินที่เหมาะสม – ดินร่วน ดินร่วนเหนียว ดินเหนียว หรือดินร่วนเหนียวปนทราย – มีการระบายน้ำ และถ่ายเทอากาศดี – ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง – ค่าความเป็นกรด – ด่าง 5.5 – 7.0 (ถั่วเหลือง ถั่วเขียว) และ 5.5 – 6.0 (ถั่วลิสง)
สมบัติของดินที่เหมาะสม – ดินร่วน ดินร่วนเหนียว ดินเหนียว หรือดินร่วนเหนียวปนทราย – มีการระบายน้ำ และถ่ายเทอากาศดี – ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง – ค่าความเป็นกรด – ด่าง 5.5 – 7.0 (ถั่วเหลือง ถั่วเขียว) และ 5.5 – 6.0 (ถั่วลิสง)
อายุเก็บเกี่ยว เริ่มเก็บเกี่ยวเมื่ออายุประมาณ 62-75 วัน ขึ้นอยู่กับชนิดพันธุ์ เงื่อนไขการดำเนินการ 1. ฤดูกาล ในฤดูแล้งปลูกช่วงกลางเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนมกราคม ช่วงปลูกหากกระทบอากาศเย็นจะทำให้ต้นพืชชะงักการเจริญเติบโต 2. ไม่ทนต่อสภาพน้ำท่วมขัง 3. ดินเหนียวไม่เหมาะสมกับการ
อายุเก็บเกี่ยว เริ่มเก็บเกี่ยวเมื่ออายุประมาณ 62-75 วัน ขึ้นอยู่กับชนิดพันธุ์ เงื่อนไขการดำเนินการ 1. ฤดูกาล ในฤดูแล้งปลูกช่วงกลางเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนมกราคม ช่วงปลูกหากกระทบอากาศเย็นจะทำให้ต้นพืชชะงักการเจริญเติบโต 2. ไม่ทนต่อสภาพน้ำท่วมขัง 3. ดินเหนียวไม่เหมาะสมกับการ