ความรู้พืชผลทางการเกษตรเพื่อเกษตรกรไทย

เลือกตามประเภทเนื้อหา
ปุ๋ย หนึ่งในตัวช่วยของเกษตรกร ที่จะยกระดับประสิทธิภาพของการเพาะปลูก ปลูกผักก็ขึ้นงาม ปลูกผลไม้ก็โตง่าย เพิ่มผลผลิตให้งอกเงยสมบูรณ์ ได้ผลผลิตตามต้องการ และมีคุณภาพ สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร ซึ่งบทความนี้ KUBOTA จะมาเจาะลึกทุกรายละเอียดทุกประเด็น ของปุ๋ย จะมีอะไรบ้างไปดูกันเลย
ปุ๋ย หนึ่งในตัวช่วยของเกษตรกร ที่จะยกระดับประสิทธิภาพของการเพาะปลูก ปลูกผักก็ขึ้นงาม ปลูกผลไม้ก็โตง่าย เพิ่มผลผลิตให้งอกเงยสมบูรณ์ ได้ผลผลิตตามต้องการ และมีคุณภาพ สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร ซึ่งบทความนี้ KUBOTA จะมาเจาะลึกทุกรายละเอียดทุกประเด็น ของปุ๋ย จะมีอะไรบ้างไปดูกันเลย
ชีวภัณฑ์ มิตรคู่เกษตรกร ผู้ปกป้องพืชผักจากศัตรูพืช วิธีการเกษตรที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีห่วงโซ่อาหารเข้ากับเกษตรกรรมอย่างลงตัว อีกหนึ่งทางเลือกที่น่าสนใจในยุคที่การใช้สารเคมีไม่ตอบโจทย์สำหรับผู้บริโภค เนื่องจากอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ซึ่งชีวภัณฑ์คืออะไร ไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพจริงหรือไม่ หาคำตอบได้ในบทความนี้กับ KUBOTA 
ชีวภัณฑ์ มิตรคู่เกษตรกร ผู้ปกป้องพืชผักจากศัตรูพืช วิธีการเกษตรที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีห่วงโซ่อาหารเข้ากับเกษตรกรรมอย่างลงตัว อีกหนึ่งทางเลือกที่น่าสนใจในยุคที่การใช้สารเคมีไม่ตอบโจทย์สำหรับผู้บริโภค เนื่องจากอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ซึ่งชีวภัณฑ์คืออะไร ไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพจริงหรือไม่ หาคำตอบได้ในบทความนี้กับ KUBOTA 
ไม่ว่าจะมีพื้นที่เกษตรกรรมมากหรือน้อย พื้นที่ปลูกข้าวจำนวน 10 ไร่ หรือเป็น 100 ไร่ พอถึงช่วงเวลาของการบำรุงรักษาที่ต้องฉีดพ่นสาร เกษตรกรย่อมไม่อยากสัมผัสกับสารเคมีโดยตรง และถ้าหาแรงงานมาฉีดพ่นสารไม่ได้ จะมีแนวทางจัดการได้อย่างไรบ้าง
ไม่ว่าจะมีพื้นที่เกษตรกรรมมากหรือน้อย พื้นที่ปลูกข้าวจำนวน 10 ไร่ หรือเป็น 100 ไร่ พอถึงช่วงเวลาของการบำรุงรักษาที่ต้องฉีดพ่นสาร เกษตรกรย่อมไม่อยากสัมผัสกับสารเคมีโดยตรง และถ้าหาแรงงานมาฉีดพ่นสารไม่ได้ จะมีแนวทางจัดการได้อย่างไรบ้าง
ฟางข้าว อย่ามองข้าม สามารถนำไปแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าในหลากหลายอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็น การเกษตร พลังงาน หรือแม้กระทั่งแฟชั่น ในบทความนี้ KAS จะมาแนะนำ 10 วิธีการแปรรูปฟางข้าววัสดุเหลือใช้ที่อาจไม่เคยรู้มาก่อน จะมีอะไรบ้างไปดูกัน
ฟางข้าว อย่ามองข้าม สามารถนำไปแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าในหลากหลายอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็น การเกษตร พลังงาน หรือแม้กระทั่งแฟชั่น ในบทความนี้ KAS จะมาแนะนำ 10 วิธีการแปรรูปฟางข้าววัสดุเหลือใช้ที่อาจไม่เคยรู้มาก่อน จะมีอะไรบ้างไปดูกัน
ในยุคปัจจุบันที่สภาพอากาศแปรปรวนจากภาวะโลกเดือด (Global Boiling) ทำให้เกษตรกรเพาะปลูกพืชผักลำบากมากขึ้น การปลูกผักในโรงเรือนจึงอาจะเป็นทางออกที่ดี ที่มีประสิทธิภาพที่สูง และตอบโจทย์วิกฤตที่เกษตกรกำลังเผชิญอยู่ได้ มาเรียนรู้เทคนิคการปลูกผักในโรงเรือน สร้างผลผลิตได้ตลอดปีในบทความนี้กับ KAS
ในยุคปัจจุบันที่สภาพอากาศแปรปรวนจากภาวะโลกเดือด (Global Boiling) ทำให้เกษตรกรเพาะปลูกพืชผักลำบากมากขึ้น การปลูกผักในโรงเรือนจึงอาจะเป็นทางออกที่ดี ที่มีประสิทธิภาพที่สูง และตอบโจทย์วิกฤตที่เกษตกรกำลังเผชิญอยู่ได้ มาเรียนรู้เทคนิคการปลูกผักในโรงเรือน สร้างผลผลิตได้ตลอดปีในบทความนี้กับ KAS
ปัจจุบันผลผลิตทางการเกษตรประสบปัญหาสารเคมีมีตกค้างจากการใช้สารเคมีในกำจัดวัชพืช ก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพต่อผู้ปลูกรวมถึงผู้บริโภค แต่เกษตรกรหัวก้าวหน้าท่านนี้มีนามว่า นายเสน่ห์ พันธ์ภูมิ อายุ 56 ปี บ้านเลขที่ 146 ม.1 ต.ศรีวิลัย อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ได้รับเลือกให้เป็นปราชญ์พร
ปัจจุบันผลผลิตทางการเกษตรประสบปัญหาสารเคมีมีตกค้างจากการใช้สารเคมีในกำจัดวัชพืช ก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพต่อผู้ปลูกรวมถึงผู้บริโภค แต่เกษตรกรหัวก้าวหน้าท่านนี้มีนามว่า นายเสน่ห์ พันธ์ภูมิ อายุ 56 ปี บ้านเลขที่ 146 ม.1 ต.ศรีวิลัย อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด ได้รับเลือกให้เป็นปราชญ์พร
ในการทำนาข้าวแบบดั้งเดิมนั้นหนึ่งฤดูการเพาะปลูกจะใช้น้ำประมาณ 700 -1,500 มิลลิเมตร ดังนั้นเทคนิคการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้ง(แกล้งข้าว)สามารถประหยัดน้ำได้ประมาณ 30% -50% ลดปัญหานาหล่ม ป้องกันเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลเนื่องจากความชื้นที่โคนกอข้าวต่ำ และกระตุ้นการออกรากของข้าว ซึ่งวิธีการนี้เหมาะสำหรับ
ในการทำนาข้าวแบบดั้งเดิมนั้นหนึ่งฤดูการเพาะปลูกจะใช้น้ำประมาณ 700 -1,500 มิลลิเมตร ดังนั้นเทคนิคการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้ง(แกล้งข้าว)สามารถประหยัดน้ำได้ประมาณ 30% -50% ลดปัญหานาหล่ม ป้องกันเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลเนื่องจากความชื้นที่โคนกอข้าวต่ำ และกระตุ้นการออกรากของข้าว ซึ่งวิธีการนี้เหมาะสำหรับ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ คือการดำรงไว้ซึ่งความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์ (seed) ให้ยาวนานออกไป ฉะนั้นในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์จึงมีปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องหลายประการ แต่โดยทั่วไปอาจสรุปได้ 2 ประการ คือ 1.ปัจจัยภายใน 1.1 ชนิดของเมล็ดพันธุ์(species)
ปัจจัยที่มีผลต่อการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ คือการดำรงไว้ซึ่งความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์ (seed) ให้ยาวนานออกไป ฉะนั้นในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์จึงมีปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องหลายประการ แต่โดยทั่วไปอาจสรุปได้ 2 ประการ คือ 1.ปัจจัยภายใน 1.1 ชนิดของเมล็ดพันธุ์(species)
ปัจจุบันการค้าข้าวอินทรีย์ยังมีปริมาณน้อยแต่แนวโน้มการบริโภคข้าวอินทรีย์มีมากขึ้น เนื่องจากผู้บริโภคตระหนักถึงความปลอดภัยด้านอาหารและสิ่งแวดล้อม การผลิตข้าวเพื่อการค้าโดยทั่วไปจะไม่มีการรับผิดชอบร่วมกัน ดังภาพที่ 1 ส่วนการผลิตข้าวอินทรีย์ เกษตรกรควรรวมตัวกันเพื่อวางระบบการผลิตและการตลาด ซึ่งจะส่งผล
ปัจจุบันการค้าข้าวอินทรีย์ยังมีปริมาณน้อยแต่แนวโน้มการบริโภคข้าวอินทรีย์มีมากขึ้น เนื่องจากผู้บริโภคตระหนักถึงความปลอดภัยด้านอาหารและสิ่งแวดล้อม การผลิตข้าวเพื่อการค้าโดยทั่วไปจะไม่มีการรับผิดชอบร่วมกัน ดังภาพที่ 1 ส่วนการผลิตข้าวอินทรีย์ เกษตรกรควรรวมตัวกันเพื่อวางระบบการผลิตและการตลาด ซึ่งจะส่งผล
การทำนาดำเป็นวิธีการทำนาที่มีการนำเมล็ดข้าวไปเพาะในแปลงที่เตรียมไว้ (แปลงกล้า) ให้งอกเป็นต้นกล้า แล้วถอนต้นกล้าไปปักดำในกระทงนาที่เตรียมไว้ และมีการดูแลรักษาจนให้ผลผลิต การทำนาดำนิยมในพื้นที่ที่มีแรงงานเพียงพอ การเตรียมดินสำหรับการทำนาดำ ต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อม เช่น น้ำ ภูมิอากาศ ลักษณะพื้นที่
การทำนาดำเป็นวิธีการทำนาที่มีการนำเมล็ดข้าวไปเพาะในแปลงที่เตรียมไว้ (แปลงกล้า) ให้งอกเป็นต้นกล้า แล้วถอนต้นกล้าไปปักดำในกระทงนาที่เตรียมไว้ และมีการดูแลรักษาจนให้ผลผลิต การทำนาดำนิยมในพื้นที่ที่มีแรงงานเพียงพอ การเตรียมดินสำหรับการทำนาดำ ต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อม เช่น น้ำ ภูมิอากาศ ลักษณะพื้นที่
ชุดดินในที่ลุ่มที่สำคัญ ในภาคเหนือ 1. ชุดดินหางดง (Hang Dongseries : Hd) กลุ่มชุดดินที่ 5 การกำเนิด : เกิดจากตะกอนน้ำพาบริเวณที่ราบตะกอนน้ำพาหรือตะพักลำน้ำ สภาพพื้นที่ : ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 % การระบายน้ำ : เลว การซึมผ่านได้ของน้ำ : ช้า การไหลบ่าของน้ำบนผิวดิน : ช้า
ชุดดินในที่ลุ่มที่สำคัญ ในภาคเหนือ 1. ชุดดินหางดง (Hang Dongseries : Hd) กลุ่มชุดดินที่ 5 การกำเนิด : เกิดจากตะกอนน้ำพาบริเวณที่ราบตะกอนน้ำพาหรือตะพักลำน้ำ สภาพพื้นที่ : ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 % การระบายน้ำ : เลว การซึมผ่านได้ของน้ำ : ช้า การไหลบ่าของน้ำบนผิวดิน : ช้า
ชุดดินในที่ลุ่มที่สำคัญ ในภาคกลาง 2. ชุดดินนครปฐม (Nakhon Pathom series : Np) กลุ่มชุดดินที่ 7 การกำเนิด : เกิดจากตะกอนน้ำพามาทับถมอยู่บนที่ราบตะกอนน้ำพาหรือตะพักลำน้ำ สภาพพื้นที่ : ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 % การระบายน้ำ : ค่อนข้างเลว การซึมผ่านได้ของน้ำ : ช้า การไหลบ่าของน้ำ
ชุดดินในที่ลุ่มที่สำคัญ ในภาคกลาง 2. ชุดดินนครปฐม (Nakhon Pathom series : Np) กลุ่มชุดดินที่ 7 การกำเนิด : เกิดจากตะกอนน้ำพามาทับถมอยู่บนที่ราบตะกอนน้ำพาหรือตะพักลำน้ำ สภาพพื้นที่ : ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 % การระบายน้ำ : ค่อนข้างเลว การซึมผ่านได้ของน้ำ : ช้า การไหลบ่าของน้ำ
ชุดดินในที่ลุ่มที่สำคัญ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. ชุดดินร้อยเอ็ด (Roi-et series : Re) กลุ่มชุดดินที่ 17 การกำเนิด : เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผ่นดินบริเวณพื้นที่เกือบราบหรือที่ราบ สภาพพื้นที่ : ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
ชุดดินในที่ลุ่มที่สำคัญ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. ชุดดินร้อยเอ็ด (Roi-et series : Re) กลุ่มชุดดินที่ 17 การกำเนิด : เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผ่นดินบริเวณพื้นที่เกือบราบหรือที่ราบ สภาพพื้นที่ : ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
ชุดดินในที่ดอนที่สำคัญ ในภาคเหนือ 4. ชุดดินบ้านจ้อง (Ban Chong series : Bg) กลุ่มชุดดินที่ 29 การกำเนิด : เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพ เช่น หินดินดาน หินทรายแป้ง หินโคลน หินชนวน และหินฟิลไลท์ สภาพพื้นที่ : ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเป็นเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %
ชุดดินในที่ดอนที่สำคัญ ในภาคเหนือ 4. ชุดดินบ้านจ้อง (Ban Chong series : Bg) กลุ่มชุดดินที่ 29 การกำเนิด : เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพ เช่น หินดินดาน หินทรายแป้ง หินโคลน หินชนวน และหินฟิลไลท์ สภาพพื้นที่ : ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเป็นเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %
ชุดดินในที่ดอนที่สำคัญ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5. ชุดดินโคราช (โคราช series : Kt) กลุ่มชุดดินที่ 35 การกำเนิด : เกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ และ/หรือเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางไม่ไกลนักของหินตะกอนเนื้อหยาบพวกหินทรายบริเวณพื้นที่เกือบราบหรือที่เกือบราบ (peneplain)
ชุดดินในที่ดอนที่สำคัญ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5. ชุดดินโคราช (โคราช series : Kt) กลุ่มชุดดินที่ 35 การกำเนิด : เกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ และ/หรือเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางไม่ไกลนักของหินตะกอนเนื้อหยาบพวกหินทรายบริเวณพื้นที่เกือบราบหรือที่เกือบราบ (peneplain)