คำแนะนำมาตรการจำกัดการใช้ 3 สาร พาราควอต ไกลโฟเซต และคลอร์ไฟริฟอส

คณะกรรมการวัตถุอันตราย เห็นชอบ 6 มาตรการ จำกัดการใช้

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 5 ฉบับ

ผู้เกี่ยวข้องมีดังนี้

เกษตรกรผู้ใช้

ผู้รับจ้างพ่น

ผู้ขาย

ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล

ผู้นำเข้า/ผู้ผลิต

กำหนดพืชที่อนุญาตให้ใช้ 3 สาร

กำหนดข้อความในฉลาก

แผนปฎิบัติการอบรม

ตัวอย่างฉลากวัตถุอันตรายทางการเกษตร

วิจัยสาร/วิธีทดแทน และศึกษาผลกระทบ

สร้างการรับรู้ แก่เกษตรกรและประชาชนทั่วไป

ระบบฐานข้อมูล

บทความที่เกี่ยวข้อง

ควบคุมวัชพืช เพื่อป้องกัน ยับยั้ง หรือ ชะลอ การงอกของวัชพืชที่จะมีผลต่อต้นพืชก่อนที่จะถึงช่วงวิกฤติของการแข่งขัน การป้องกันโดยทำลายวัชพืชส่วนที่อยู่เหนือต้น คือ ใบ ต้น ดอก และส่วนที่อยู่ใต้ดิน เช่น ไหล เหง้า เมล็ด ให้หลุดจากดินตายไป ป้องกันการออกดอก เพื่อไม่ให้มีการแพร่พันธุ์ของวัชพืช ด้วยเทคนิค
ในปัจจุบันเกษตรกรส่วนใหญ่ยังต้องพึ่งพาปุ๋ยเคมี ซึ่งทำให้เกิดต้นทุนในการผลิตสูง แต่ก็มีเกษตรกรหลายรายหันกลับมาผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เองในนาข้าว โดยอาศัยหลักการพึ่งพากันของธรรมชาติ เกิดองค์ความรู้จากการสังเกตว่า พืชผักใบเขียวในส่วนยอดอ่อนๆ จะมีฮอร์โมนกระตุ้นการเจริญเติบโตอยู่ในปริมาณมาก เมื่อนำมาหมักให้เ
วัชพืชเป็นปัญหาอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการปลูกอ้อยและส่งผลให้ผลผลิตของอ้อยลดต่ำลงเป็นอันมากรวมถึงการที่ต้นทุนเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากการกำจัดวัชพืชไม่ทันตามเวลา โดยความเสียหายจะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของวัชพืชและอายุอ้อยในขณะนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอ้อยปลูกสำหรับอ้อยตอนั้น